เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เครื่องยนต์ 4 จังหวะและไทป์ 61

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เครื่องยนต์ 4 จังหวะและไทป์ 61

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ vs. ไทป์ 61

250px เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (Four-stroke engine) เป็นเครื่องยนต์ที่ใช้ในรถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถบรรทุก ที่ใช้เครื่องยนต์ที่มีการเผาไหม้ภายใน สำหรับเครื่องยนต์เบนซิน (petrol engine หรือ gasoline engine) ไอของน้ำมันจะถูกอัดแล้วถูกจุดระเบิดโดยหัวเทียน "ไอดี" คือส่วนผสมของไอระเหยหรือละอองน้ำมันเบนซินผสมกับอากาศ ไอดีจะถูกดูดเข้ากระบอกสูบหรือฉีดเข้ากระบอกสูบโดยหัวฉีดในช่วงชักดูด และไอดีจะถูกอัดให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 700-900 องศาเซลเซียส แล้วไอดีถูกจุดระเบิดโดยประกายไฟประมาณ 25,000 โวลต์ จากเขี้ยวหัวเทียน เรียกช่วงชักนี้ว่าช่วงชักระเบิด หรือ "ช่วงชักงาน" แรงระเบิดทำให้ลูกสูบเลื่อนลง เครื่องยนต์ได้งานในช่วงชักนี้ ทำให้เพลาข้อเหวี่ยงเกิดการหมุน เป็นการเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล ช่วงชักคายลูกสูบเลื่อนขึ้น ลิ้นไอดี "ปิด" ลิ้นไอเสีย "เปิด" ไอเสียออกจากกระบอกสูบทางลิ้นไอเสีย ผ่านท่อไอเสีย ออกสู่บรรยากาศ เครื่องยนต์ทำงาน ครบ 4 ช่วงชัก หลักการทำงานของเครื่องยนต์ที่ทำงาน 4 จังหวะ (4 ช่วงชัก) แบ่งออกได้ดังนี้. ทป์ 61 ไทป์ 61 (61式戦車, Roku-ichi Shiki sensha) เป็นรถถังชนิด main battle tank (MBT) ผลิดและใช้งานโดย กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น (JGSDF), รถถังออกแบบโดย Mitsubishi Heavy Industries เรืองราวทั้งหมดมันเริ่มจาก ความต้องการ รถถัง ของกองกำลังป้องกันตนเองแห่งญี่ปุ่น หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งฝ่ายญี่ปุ่นได้รับความเสียหายอย่างหนัก และโรงงานเป็นจำนวนมาก ถูกพิษสงครามทำลายจนไม่อาจฟื้นขึ้นมาใหม่ได้ และประกอบกับญี่ปุ่นโดนฝ่ายสัมพันธมิตรบังคับให้ยุบกองกำลังทางทหารทั้งหมด จึงทำให้ตำรวจมีกองกำลังเพียงอย่างเดียวคือกอง กำลังตำรวจ เท่านั้นที่ติดอาวุธเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ซึงต่อมาก็ได้มีการจัดตั้ง National Police Reserve หรือ กองกำลังตำรวจติดอาวุธแห่งชาติ ซึ่งต่อมากองกำลังนี้จะพัฒนาเป็นกองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินต่อไป เมื่อสหภาพโซเวียตได้ยึดเอาเกาะที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของญี่ปุ่น ทางตอนเหนือของฮอกไกโด และเกาะซาฮาริ (แซกคาริน) ไปและตั้งกองกำลังขึ้นบนเกาะ ทางการญี่ปุ่นจึงต้องจัดหารถถังเพื่อป้องกันตัวเองจากรถถัง T-44 (ผลิตในปี 1944) ของสหภาพโซเวียตในสมัยนั้น ในปี 1950 ทางกองกำลังป้องกันตนเอง และบริษัทมิซูบิชิ ได้เริ่มมีโครงการที่จะพัฒนารถถังของตนเพื่อทดแทน M4A3E8 สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ของสหรัฐอเมริกา ที่ได้ให้ไว้จำนวนหนึ่ง และเนื่องด้วยว่าตอนนั้น ทางโรงงานของ มิซูบิชิ กำลังอยู่ในช่วงเวลาของการฟื้นตัว การผลิตเทคโนโลยีที่ซับซ้อน ย่อมเกิดขึ้นได้ยาก ทางการญี่ปุ่นจึงมีทางเลือก 3 ทางคือ สร้างรถถังใช้เอง ไม่ก็ต้องนำเข้ารถถัง M-47 Patton (ผลิตในปี 1954) จากสหรัฐอเมริกาหรือ จะอัพเกรด M4 ที่มีอยู่ โดยเมื่อคิดคำนึงถึงการขนส่งและอื่นๆแล้ว ญี่ปุ่นกลับพบว่าหากซื้อรถถัง M-47 จากสหรัฐจะมีปัญหายุ่งยากกว่า เพราะรางรถไฟของญี่ปุ่นนั้นใช้ความกว้างรางแบบ เคป เกจ (Cape gauge) ขนาดความกว้างราง 1.067 เมตร (3 ฟุต 6 นิ้ว) ทำให้ไม่สามารถบรรทุกสิ่งของที่กว้างกว่า 3 เมตรได้ ในขณะที่รถถถัง M-47 Patton มีขนาดความกว้างถึง 3.52 เมตร ย่อมจะทำให้เกิดความยุ่งยากในการขนส่งทางรถไฟไปยังภูมิภาคต่างๆ ประกอบกับทางรถไฟของญีปุ่นยังไม่ทันสมัยในยุคนั้น ซึ่งรองรับน้ำหนักของสิ่งที่บรรทุกได้ไม่เกิน 35 ตัน การสั้งซื้ออรถถังขนาดใหญ่อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุเมื่อต้องข้ามสะพานหรือ ลอดอุโมงค์ได้ การสั้งซื้อรถถัง M-47 Patton จึงต้องตัดออกไป และแล้วในที่สุดทางการญี่ปุ่นก็ได้กำหนดคุณลักษณะของรถถังใหม่ของพวก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เครื่องยนต์ 4 จังหวะและไทป์ 61

เครื่องยนต์ 4 จังหวะและไทป์ 61 มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เครื่องยนต์ 4 จังหวะและไทป์ 61

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไทป์ 61 มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (2 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เครื่องยนต์ 4 จังหวะและไทป์ 61 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: