เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร)

เครสซิดา (ดาวบริวาร) vs. เดสดิโมนา (ดาวบริวาร)

นอกจากนี้ยังมี ดาวเคราะห์น้อย ที่เรียกว่า 548 เครสซิดา จากซ้ายไปขวา พอร์ชา เครสซิดา และ โอฟีเลีย เครสซิดา (Cressida) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus IX เป็นดาวบริวารลำดับที่ 4 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส เครสซิดา ตั้งชื่อตาม Cressida จากวรรณกรรมของเชคสเปียร์ เรื่อง Troilus and Cressida เครสซิดา ถูกค้นพบในวันที่ 9 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1986 โดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/1989 U 3" เครสซิดาถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เบียงกา เดสดิโมนา จูเลียต พอร์ชา รอซาลินด์ คีวปิด เบลินดา เพอร์ดิตา เครสซิดาอาจจะชนกับเดสดิโมนา ภายใน 100 ล้านปีข้างหน้. นอกจากนี้ยังมี ดาวเคราะห์น้อย ที่เรียกว่า 666 เดสดิโมนา เดสดิโมนา เดสดิโมนา (Desdemona) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus X เป็นดาวบริวารลำดับที่ 5 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส เดสดิโมนา ตั้งชื่อตาม Desdemona จากวรรณกรรมของเชคสเปียร์ เรื่อง Othello เดสดิโมนา ถูกค้นพบในวันที่ 13 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1986 โดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/1989 U 6" เดสดิโมนาถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เบียงกา เครสซิดา จูเลียต พอร์ชา รอซาลินด์ คีวปิด เบลินดา เพอร์ดิตา เดสดิโมนาอาจจะชนกับดาวบริวารเพื่อนบ้าน คือ เครสซิดา หรือ จูเลียต ภายใน 100 ล้านปีข้างหน้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร)

เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2529พอร์ชา (ดาวบริวาร)มกราคมรอซาลินด์ (ดาวบริวาร)วรรณกรรมวอยเอจเจอร์ 2วิลเลียม เชกสเปียร์จูเลียต (ดาวบริวาร)ดาวบริวารของดาวยูเรนัสดาวยูเรนัสดาวเคราะห์น้อยคีวปิด (ดาวบริวาร)เบลินดา (ดาวบริวาร)เบียงกา (ดาวบริวาร)เพอร์ดิตา (ดาวบริวาร)

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2529และเครสซิดา (ดาวบริวาร) · พ.ศ. 2529และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

พอร์ชา (ดาวบริวาร)

นับจากซ้ายไปขวา พอร์ชา เครสซิดา และโอฟีเลีย พอร์ชา (Portia) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus XII เป็นดาวบริวารลำดับที่ 7 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส พอร์ชา ตั้งชื่อตาม Portia จากวรรณกรรมของเชคสเปียร์ เรื่อง The Merchant of Venice พอร์ชา ถูกค้นพบในวันที่ 3 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1986 โดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/1986 U 1" พอร์ชาถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เบียงกา เครสซิดา เดสดิโมนา จูเลียต รอซาลินด์ คีวปิด เบลินดา เพอร์ดิต.

พอร์ชา (ดาวบริวาร)และเครสซิดา (ดาวบริวาร) · พอร์ชา (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม

มกราคม เป็นเดือนแรกของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมกราคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีมกร และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมกราคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู และไปอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลในปลายเดือน เดือนมกราคมในภาษาอังกฤษ January มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า ยานุส (Janus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งประตูทางผ่าน การเริ่มต้น และการสิ้นสุด ปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคมมีเดือนเพียง 10 เดือน (304 วัน) โดยไม่มีเดือนในช่วงฤดูหนาว ต่อมาได้มีการเพิ่มเดือน 2 เดือน คือ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทำให้ 1 ปีมี 12 เดือน ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมกราคมในปี..

มกราคมและเครสซิดา (ดาวบริวาร) · มกราคมและเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

รอซาลินด์ (ดาวบริวาร)

วงแหวนเอปไซลอน รอซาลินด์ และ เบลินดา รอซาลินด์ (Rosalind) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus XIII เป็นดาวบริวารลำดับที่ 8 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส รอซาลินด์ ตั้งชื่อตาม Rosalind จากวรรณกรรมของเชคสเปียร์ เรื่อง As You Like It รอซาลินด์ ถูกค้นพบในวันที่ 13 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1986 โดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/1986 U 4" รอซาลินด์ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เบียงกา เครสซิดา เดสดิโมนา จูเลียต พอร์ชา คีวปิด เบลินดา เพอร์ดิต.

รอซาลินด์ (ดาวบริวาร)และเครสซิดา (ดาวบริวาร) · รอซาลินด์ (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

วรรณกรรม

วรรณกรรมนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท.

วรรณกรรมและเครสซิดา (ดาวบริวาร) · วรรณกรรมและเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

วอยเอจเจอร์ 2

มเดลของยานในโครงการวอยเอจเจอร์ วอยเอจเจอร์ 2 (Voyager 2) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการวอยเอจเจอร์ ซึ่งมียานพี่อีกลำหนึ่งคือยานวอยเอจเจอร์ 1 ยานวอยเอจเจอร์ 2 ถูกส่งขึ้นไปให้โคจรเป็นเส้นโค้งตามระนาบสุริยวิถี โดยเตรียมการให้สามารถเดินทางเข้าใกล้ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน ด้วยการอาศัยแรงเหวี่ยงจากแรงโน้มถ่วงของดาวเสาร์ซึ่งมันจะต้องเดินทางผ่านในปี..

วอยเอจเจอร์ 2และเครสซิดา (ดาวบริวาร) · วอยเอจเจอร์ 2และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เชกสเปียร์

วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี..

วิลเลียม เชกสเปียร์และเครสซิดา (ดาวบริวาร) · วิลเลียม เชกสเปียร์และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

จูเลียต (ดาวบริวาร)

นอกจากนี้ยังมี ดาวเคราะห์น้อย ที่เรียกว่า 1285 จูเลียต จูเลียต และ เดสดิโมนา (จุดสว่างๆข้างๆ) จูเลียต (Juliet) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus XI เป็นดาวบริวารลำดับที่ 6 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส จูเลียต ตั้งชื่อตาม Juliet จากวรรณกรรมของเชคสเปียร์ เรื่อง Romeo and Juliet จูเลียต ถูกค้นพบในวันที่ 3 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1986 โดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/1986 U 2" จูเลียตถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เบียงกา เครสซิดา เดสดิโมนา พอร์ชา รอซาลินด์ คีวปิด เบลินดา เพอร์ดิตา จูเลียตอาจจะชนกับเดสดิโมนา ภายใน 100 ล้านปีข้างหน้.

จูเลียต (ดาวบริวาร)และเครสซิดา (ดาวบริวาร) · จูเลียต (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ดาวบริวารของดาวยูเรนัส

อเบอรอน ดาวยูเรนัส เป็นดาวเคราะห์แก๊สขนาดยักษ์ในระบบสุริยะ มีดาวบริวารที่รู้จักแล้ว 27 ดวง โดยทั้งหมดถูกตั้งชื่อตามตัวละครในผลงานการประพันธ์ของวิลเลียม เชกสเปียร์ และอเล็กซานเดอร์ โปป โดยใน ค.ศ. 1787 ดาวบริวารสองดวงแรกถูกค้นพบโดยวิลเลียม เฮอร์เชล ได้แก่ ทิทาเนียและโอเบอรอน ส่วนดาวบริวารทรงกลมอื่น ๆ ถูกค้นพบโดยวิลเลียม ลาสเซลล์ ในปี ค.ศ. 1851 (ได้แก่ แอเรียลและอัมเบรียล) และในปี ค.ศ. 1948 โดยเจอราร์ด ไคเปอร์ (มิแรนดา) ดาวบริวารที่เหลือถูกค้นพบหลังจากปี ค.ศ. 1985 โดยภารกิจของวอยเอจเจอร์ 2 และด้วยความช่วยเหลือของกล้องโทรทรรศน์บนโลกที่ทันสมัย ดาวบริวารของดาวยูเรนัสถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดาวบริวารรอบในสิบสามดวง (thirteen inner moons), กลุ่มดาวบริวารขนาดใหญ่ห้าดวง (five major moons) และกลุ่มดาวบริวารทรงแปลกเก้าดวง (nine irregular moons) โดยกลุ่มดาวบริวารรอบในสิบสามดวงจะกระจัดกระจายอยู่ภายในบริเวณวงแหวนของดาวยูเรนัส กลุ่มดาวบริวารขนาดใหญ่ห้าดวงเป็นดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่และเป็นทรงกลม ในนั้น 4 ดวงเป็นดาวบริวารที่ยังมีกระบวนการภายใน มีภูเขาไฟ และการเปลี่ยนแปลงบนเปลือกดาวอยู่ ดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มคือ ไททาเนีย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,578 กม.

ดาวบริวารของดาวยูเรนัสและเครสซิดา (ดาวบริวาร) · ดาวบริวารของดาวยูเรนัสและเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ดาวยูเรนัส

ซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล ภาพจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดง ดาวยูเรนัส วงแหวน และดวงจันทร์บริวาร ดาวยูเรนัส (หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3.

ดาวยูเรนัสและเครสซิดา (ดาวบริวาร) · ดาวยูเรนัสและเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเคราะห์น้อย

วเคราะห์น้อย 253 แมธิลด์ เป็นดาวเคราะห์น้อยแบบ C-Type ดาวเคราะห์น้อย (Asteroid หรือบางครั้งเรียกว่า Minor Planet / Planetoid) คือวัตถุทางดาราศาสตร์ขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ แต่ใหญ่กว่าสะเก็ดดาว (ซึ่งโดยปกติมักมีขนาดราว 10 เมตรหรือน้อยกว่า) และไม่ใช่ดาวหาง การแบ่งแยกประเภทเช่นนี้กำหนดจากภาพปรากฏเมื่อแรกค้นพบ กล่าวคือ ดาวหางจะต้องมีส่วนของโคม่าที่สังเกตเห็นได้ชัด และมีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อของดาวหางเอง ดาวเคราะห์น้อยมีลักษณะปรากฏคล้ายดวงดาว (คำว่า asteroid มาจากคำภาษากรีกว่า αστεροειδής หรือ asteroeidēs ซึ่งหมายถึง "เหมือนดวงดาว" มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า Aστήρ หรือ astēr ซึ่งแปลว่า ดวงดาว) และมีการกำหนดเรียกชื่ออย่างคร่าวๆ ตามชื่อปีที่ค้นพบ จากนั้นจึงมีการตั้งชื่อตามระบบ (เป็นหมายเลขเรียงตามลำดับ) และชื่อ ถ้ามีการพิสูจน์ถึงการมีอยู่และรอบการโคจรเรียบร้อยแล้ว สำหรับลักษณะทางกายภาพของดาวเคราะห์น้อยโดยส่วนใหญ่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่มีการตั้งชื่อคือ ซีรีส ค้นพบในปี พ.ศ. 2344 โดย จูเซปเป ปิอาซซี ซึ่งในช่วงแรกคิดว่าได้ค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่ และกำหนดประเภทให้มันว่าเป็นดาวเคราะห์แคระ ซีรีสนับเป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดเท่าที่เป็นที่รู้จักกันในปัจจุบัน และจัดอยู่ในประเภทดาวเคราะห์แคระ ส่วนดาวเคราะห์น้อยดวงอื่นๆ จัดเป็นวัตถุในระบบสุริยะขนาดเล็ก เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล (พ.ศ. 2281 - 2365 ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส เมื่อ พ.ศ. 2324) เป็นผู้ประดิษฐ์คำศัพท์ "asteroid" ให้แก่วัตถุอวกาศชุดแรก ๆ ที่ค้นพบในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งทั้งหมดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี โดยส่วนใหญ่วงโคจรมักบิดเบี้ยวไม่เป็นวงรี แต่หลังจากนั้นมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยอยู่ระหว่างวงโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ นับตั้งแต่ดาวพุธไปจนถึงดาวเนปจูน และอีกหลายร้อยดวงอยู่พ้นจากดาวเนปจูนออกไป ดาวเคราะห์น้อยส่วนมากพบอยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อย ซึ่งมีวงโคจรเป็นวงรีอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่เป็นซากที่หลงเหลือในจานดาวเคราะห์ก่อนเกิด ซึ่งไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ได้ระหว่างการก่อกำเนิดระบบสุริยะเนื่องจากแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์น้อยบางดวงมีดาวบริวาร หรือโคจรระหว่างกันเองเป็นคู่ เรียกว่า ระบบดาวเคราะห์น้อยคู.

ดาวเคราะห์น้อยและเครสซิดา (ดาวบริวาร) · ดาวเคราะห์น้อยและเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

คีวปิด (ดาวบริวาร)

ีวปิด (ในวงกลมสีเหลือง) คีวปิด (Cupid) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus XXVII เป็นดาวบริวารลำดับที่ 9 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส คีวปิด ตั้งชื่อตาม Cupid จากวรรณกรรมของเชคสเปียร์ เรื่อง Timon of Athens คีวปิด ถูกค้นพบใน ปี ค.ศ. 2003 โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/2003 U 2" คีวปิดถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เบียงกา เครสซิดา เดสดิโมนา จูเลียต พอร์ชา รอซาลินด์ เบลินดา เพอร์ดิต.

คีวปิด (ดาวบริวาร)และเครสซิดา (ดาวบริวาร) · คีวปิด (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

เบลินดา (ดาวบริวาร)

ลินดา โดยยานวอยเอจเจอร์ 2 เบลินดา (Belinda) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus XIVเป็นดาวบริวารลำดับที่ 10 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส เบลินดา ตั้งชื่อตาม Belinda จากวรรณกรรมของอเล็กซานเดอร์ โป๊ป เรื่อง The Rape of the Lock เบลินดา ถูกค้นพบในวันที่ 13 มกราคม ปี ค.ศ. 1986 โดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/1986 U 5" เบลินดาถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เบียงกา เครสซิดา เดสดิโมนา จูเลียต พอร์ชา รอซาลินด์ คีวปิด เพอร์ดิต.

เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเบลินดา (ดาวบริวาร) · เดสดิโมนา (ดาวบริวาร)และเบลินดา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

เบียงกา (ดาวบริวาร)

ียงกา เบียงกา (Bianca) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus VIII เป็นดาวบริวารลำดับที่ 3 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส เบียงกา ตั้งชื่อตาม Bianca จากวรรณกรรมของเชคสเปียร์ เรื่อง The Taming of the Shrew เบียงกา ถูกค้นพบในวันที่ 23 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1989 โดยยานวอยเอจเจอร์ 2 ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/1989 U 9" ชื่อ เบียงกา ถูกเลือกโดย IAU เบียงกาถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เครสซิดา เดสดิโมนา จูเลียต พอร์ชา รอซาลินด์ คีวปิด เบลินดา เพอร์ดิต.

เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเบียงกา (ดาวบริวาร) · เดสดิโมนา (ดาวบริวาร)และเบียงกา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์ดิตา (ดาวบริวาร)

อร์ดิตา ในช่วงแรกของการค้นพบ เพอร์ดิตา (Perdita) หรือเป็นที่รู้จักว่า Uranus XXVเป็นดาวบริวารลำดับที่ 11 นับตามระยะทางจากดาวยูเรนัส เพอร์ดิตา ตั้งชื่อตาม Perdita จากวรรณกรรมของเชคสเปียร์ เรื่อง The Winter's Tale เพอร์ดิตา ถูกค้นพบใน ปี ค.ศ. 1986 โดยยานวอยเอจเจอร์ 2แต่ ได้รับการยืนยันว่าเป็นดาวบริวาร ในปี ค.ศ. 2003 โดย กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ตอนค้นพบมันถูกกำหนดให้มีชื่อว่า "S/1986 U 10" เพอร์ดิตาถูกจัดอยู่ในกลุ่มของพอร์ชา ซึ่งในกลุ่มนี้มีดาวบริวารทั้งหมด 8 ดวง ได้แก่ เบียงกา เครสซิดา เดสดิโมนา จูเลียต พอร์ชา รอซาลินด์ คีวปิด เบลิน.

เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเพอร์ดิตา (ดาวบริวาร) · เดสดิโมนา (ดาวบริวาร)และเพอร์ดิตา (ดาวบริวาร) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร)

เครสซิดา (ดาวบริวาร) มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ เดสดิโมนา (ดาวบริวาร) มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 46.88% = 15 / (16 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เครสซิดา (ดาวบริวาร)และเดสดิโมนา (ดาวบริวาร) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: