โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขตราชเทวี

ดัชนี เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

83 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2509พ.ศ. 2515พ.ศ. 2532พ.ศ. 2536พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวังพญาไทพฤษภาคมกรมทรัพยากรธรณีกรมทางหลวงกรมปศุสัตว์กรมแพทย์ทหารบกกระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)กระทรวงกลาโหมกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกองบังคับการตำรวจทางหลวงการรถไฟแห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยมหิดลระบบขนส่งมวลชนเร็วรายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกรายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือรายชื่ออาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทยรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกวังสวนผักกาดวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้าสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีสะพานเฉลิมหล้า 56สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สถานีวิทยุศึกษาสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาอาคารใบหยก 2องค์การเภสัชกรรมอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิจังหวัดพระนครจังหวัดธนบุรีจิม ทอมป์สันธันวาคมถนนถนนบรรทัดทองถนนพญาไทถนนพระรามที่ 6ถนนราชวิถี (กรุงเทพมหานคร)...ถนนราชดำริถนนราชปรารภถนนวิทยุถนนศรีอยุธยาถนนอโศก-ดินแดงถนนอโศกมนตรีถนนเพชรบุรีทางพิเศษศรีรัชทางพิเศษเฉลิมมหานครท่าประตูน้ำคลองมหานาคคลองแสนแสบคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดลแขวงโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโรงพยาบาลราชวิถีโรงพยาบาลรามาธิบดีโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนโรงพยาบาลเด็กเรือโดยสารคลองแสนแสบเขตพญาไทเขตวัฒนาเขตห้วยขวางเขตดินแดงเขตดุสิตเขตปทุมวัน6 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (33 มากกว่า) »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังพญาไท

ระราชวังพญาไท หรือ วังพญาไท ตั้งอยู่ที่ริมคลองสามเสน ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น พระราชทานนามให้ว่า "พระตำหนักพญาไท" หรือ "วังพญาไท" ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระราชวังพญาไทในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและพระราชวังพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

กรมทรัพยากรธรณี

กรมทรัพยากรธรณี เป็นหน่วยงานระดับกรม ในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกรมทรัพยากรธรณี · ดูเพิ่มเติม »

กรมทางหลวง

กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเท.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกรมทางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กรมปศุสัตว์

กรมปศุสัตว์ (Department of Livestock Development) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกรม สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำหน้าที่ดูแลและควบคุมการเลี้ยงสัตว์ ทั้งด้านสุขภาพ การบำบัดโรค การบำรุงพันธุ์ การควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ สถานพยาบาลสัตว์ โรคระบาดสัตว์ การปศุสัตว์ ไปจนถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกรมปศุสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมแพทย์ทหารบก

กรมแพทย์ทหารบก เป็นหน่วยงานในประเทศไทย ที่ศึกษาวิจัย ฝึกอบรมบุคลากรเหล่าทหารแพทย์ ในการให้บริการแก่ กำลังพลของกองทัพบก และครอบครัว รวมถึงประชาชน โดยให้บริการในโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก จำนวน 37 แห่ง เริ่มก่อตั้งเป็นกองกรมกลาง กรมยุทธนาธิการ และโรงพยาบาลกลางกรมทหารบก บริเวณฝั่งทิศเหนือปากคลองหลอด ในปี พ.ศ. 2443 และเปลี่ยนชื่อมาเป็นกรมแพทย์ทหารบก ในปี..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกรมแพทย์ทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)

กระทรวงพลังงาน เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและกำกับดูแลให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงานแก่ประเท.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกระทรวงกลาโหม · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Science and Technology) มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน ส่งเสริม และพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาผู้ประกอบการ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Ministry of Natural Resources and Environment) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสงวน อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และดูแลหน่วยงานราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กองบังคับการตำรวจทางหลวง

ตำรวจทางหลวง คือ เจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่ดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยบนทางหลวงแผ่นดินนอกเขตกรุงเทพมหานครที่มีหมายเลข 1-3 ตัว และทางหลวงพิเศษ.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและกองบังคับการตำรวจทางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออก

รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายตะวันออก.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและรายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ

รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายเหนือ หมายเหตุ: ที่หยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี รถเร็ว จะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและรายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทย

ตึกระฟ้าในกรุงเทพมหานคร อาคารมหานคร เคยเป็นหนึ่งในตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทย1  รายชื่ออาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทยในปัจจุบัน.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและรายชื่ออาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

วังสวนผักกาด

วังสวนผักกาด หอเขียนลายรดน้ำ วังสวนผักกาด เดิมเป็นสวนผักกาด เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต และ หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร (เทวกุล) ตั้งอยู่บนพื้นที่ 6 ไร่ บนถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยสร้างเพื่อประทับในช่วงสุดสัปดาห์ และเปิดให้บุคคลภายนอกเข้าชมศิลปะและโบราณวัตถุ โดยที่เจ้าของบ้านยังใช้เป็นที่พำนักอยู่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2495 ภายหลังจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2502 พระชายา คือ หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร ได้มอบให้วังสวนผักกาดอยู่ในความดูแลของ มูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ และเปิดเป็น พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดตั้งแต่นั้นม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและวังสวนผักกาด · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ เป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลแห่งแรกของกระทรวงสาธารณสุข และเป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลที่เก่าแก่เป็นอันดับ3ของประเทศ เดิมชื่อโรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย ตั้งขึ้นโดยความริเริ่มของ พันโทหลวงนิตย์ เวชชวิศิษฏ์ ในขณะดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมการแพทย์ เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนพยาบาล ในยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยรับนักศึกษารุ่นแรกจำนวน 24 คน เข้าศึกษาที่โรงพยาบาลกลาง เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2489 โดยมีคุณแม่มณี สหัสสานนท์ เป็นอาจารย์ ผู้ปกครอง และอาจารย์เพี้ยน พูนสุวรรณ เป็นอาจารย์สอนพยาบาลท่านแรก ปีพุทธศักราช 2516 กระทรวงสาธารณสุขได้ปรับโครงสร้างการบริหารงาน โดยได้โอนวิทยาลัยพยาบาล มาสังกัดกองงานวิทยาลัยพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข และเปลี่ยนชื่อเป็น "วิทยาลัยพยาบาล กรุงเทพ" ในขณะนั้น ปีพุทธศักราช 2536 ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้รวมกองงานวิทยาลัยพยาบาล และกองฝึกอบรม สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เป็น หน่วยงานใหม่ ใช้ชื่อว่า สถาบันพัฒนากำลังคน-ด้านสาธารณสุข ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามว่า สถาบันพระบรมราชชนก เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2539 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2537 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระราชทาน ชื่อวิทยาลัยพยาบาลในสังกัด สถาบันพระบรมราชชนก ว่า วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี และต่อท้าย ชื่อจังหวัดที่เป็นที่ตั้ง และมีพระบรมราชานุญาตให้ใช้อักษรพระนามาภิไธยย่อ "สว" เป็นเครื่องหมาย ประจำวิทยาลัย วิทยาลัยพยาบาลกรุงเทพจึงเปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา นอกจากนี้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ยังเป็นสถาบันสมทบของ มหาวิทยาลัยมหิดล หมวดหมู่:สถาบันพระบรมราชชนก.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก

วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก เป็นหน่วยงานที่ขึ้นตรงต่อศูนย์อำนวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้าฯ กรมแพทย์ทหารบก และเป็นสถาบันสมทบของ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า เป็นสถาบันผลิตแพทย์ทหารแห่งเดียวในประเทศไทย ก่อตั้งเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 7 ของประเทศ จากกระแสพระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ โดยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก และดำรงสถานะสถาบันสมทบของ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

มเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) หรือที่ชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระนาง เป็นพระมเหสีชั้นลูกหลวงตำแหน่งพระราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยเป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ต่างพระมารดากับพระราชสวามี ด้วยพระองค์ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาสำลี พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ซึ่งทรงเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก (ชั้นทูลกระหม่อม) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์แรกที่มีพระชนม์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับการสถาปนาไว้ในที่ "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" ภายหลังทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีเถาะนพศก..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเฉลิมหล้า 56

นเฉลิมหล้า 56 หรือ สะพานหัวช้าง ในยุครัชกาลที่ 5 ภาพในปัจจุบัน สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือ สะพานหัวช้าง เป็นสะพานในชุดเฉลิม สะพานที่ 15 สร้างข้ามคลองบางกะปิหรือคลองแสนแสบ ที่ถนนพญาไท เพื่อเชื่อมทางระหว่างพระนครให้ต่อกันทั้งตอนเหนือและตอนใต้ คู่กับสะพานเฉลิมโลก 55 สะพานนี้อยู่ติดกับวังสระปทุม สะพานเฉลิมหล้า 56 เป็นสะพานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาปีที่ 56 มีลักษณะเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก คานเป็นคอนกรีตรูปโค้ง มีรายละเอียดงดงามมาก หัวสะพานทั้งสี่มุม มีรูปประดับเป็นช้าง 4 ด้าน ลูกกรงหล่อแบบลูกมะหวดฝรั่ง กลางสะพานมีพระปรมาภิไธยย่อ จปร.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและสะพานเฉลิมหล้า 56 · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุศึกษา

นีวิทยุศึกษา เป็นสถานีวิทยุของกระทรวงศึกษาธิการ นำเสนอรายการเกี่ยวกับการศึกษา ธรรมะ สุขภาพ ข่าวสาร และรายการบันเทิงต่าง.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและสถานีวิทยุศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

นีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา หรือ อีทีวี เป็นสถานีโทรทัศน์ของศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ นำเสนอรายการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งระดับประถมศึกษา, มัธยมศึกษา และการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) มีคำขวัญประจำสถานีว่า บ้านหลังใหญ่แห่งการเรียนรู้ และ เพื่อนเรียนรู้ตลอดชีวิต.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

อาคารใบหยก 2

ตึกใบหยก 2 (Baiyoke Tower II) เป็นตึกระฟ้าในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นตึกที่สูงเป็นลำดับที่ 4ของประเทศไทย และเคยเป็นตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทยระหว่าง..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและอาคารใบหยก 2 · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเภสัชกรรม

องค์การเภสัชกรรม เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จัดตั้งเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ตามพระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและองค์การเภสัชกรรม · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นอนุสาวรีย์ในกรุงเทพมหานคร โดยรอบเป็นวงเวียนอยู่กึ่งกลางระหว่างถนนพหลโยธิน ถนนราชวิถี และถนนพญาไท ตั้งอยู่ที่กิโลเมตรที่ 5.0 ถนนพหลโยธิน โดยที่ กม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดธนบุรี

ตราประจำจังหวัดธนบุรี จังหวัดธนบุรี เป็นจังหวัดในอดีตที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับจังหวัดพระนคร ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี จนกระทั่ง พ.ศ. 2514 ได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เป็น นครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและจังหวัดธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จิม ทอมป์สัน

ม ทอมป์สัน หรือชื่อเต็ม เจมส์ แฮร์ริสัน วิลสัน ทอมป์สัน (James Harrison Wilson Thompson; 21 มีนาคม ค.ศ. 1906 — ค.ศ. 1967) เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงจากการทำธุรกิจผ้าไหมในประเทศไทย และก่อตั้งบริษัทซึ่งมีชื่อเดียวกับเขาเองขึ้น เพื่อรองรับกิจการค้าผ้าไหมดังกล่าว เขาหายตัวไปจากโรงแรม บนแคเมอรอนไฮแลนด์ รัฐอิโปห์ ประเทศมาเลเซีย โดยไม่มีใครทราบเหตุการณ์ที่แน่ชัดว่าเกิดอะไรขึ้นกั.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและจิม ทอมป์สัน · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม

ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ถนน

นน เป็นทางสัญจรทางบกระหว่างสถานที่สองแห่ง ที่ได้รับการปูพื้นผิว หรือได้รับการปรับปรุงเพื่อให้การเดินทางทางเท้าหรือยานพาหนะต่าง ๆ รวมถึงม้า เกวียน จักรยาน และยานยนต์ ถนนประกอบด้วยหนึ่งหรือสองช่องทาง ได้แก่ ทิศเดียวกัน กับทิศสวนทางกัน โดยแต่ละฝั่งมีช่องจราจรตั้งแต่หนึ่งช่องขึ้นไป และบางครั้งอาจมีทางเท้า ถนนที่สร้างขึ้นเพื่อส่วนรวมอาจเรียกว่าถนนสาธาณะ หรือทางหลวง.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบรรทัดทอง

นาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี ซึ่งตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี ที่บริเวณแยกเพชรพระราม อันเป็นจุดสิ้นสุดของถนน (ภาพจากมุมมองของถนนบรรทัดทอง) ถนนบรรทัดทอง (Thanon Banthat Thong) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ 2 เขตคือ เขตปทุมวันและเขตราชเทวี.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนบรรทัดทอง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพญาไท

นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 6

นนพระรามที่ 6 (Thanon Rama VI) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร แยกจากถนนจรัสเมือง แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกพงษ์พระราม บริเวณใกล้วัดชำนิหัตถการ (วัดสามง่าม) ข้ามคลองมหานาคเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกอุรุพงษ์) และทางรถไฟสายตะวันออก เข้าสู่แขวงทุ่งพญาไท ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนราชวิถี (สี่แยกตึกชัย) ข้ามคลองสามเสน และเริ่มเลียบคลองประปาในพื้นที่แขวงพญาไท เขตพญาไท ตัดกับถนนนครไชยศรี (สามแยกโรงกรองน้ำ) ตัดกับซอยพระรามที่ 6 ซอย 34 และซอยพระรามที่ 6 ซอย 37 (สี่แยกพิบูลวัฒนา) ตัดกับถนนประดิพัทธ์ (สี่แยกประดิพัทธ์) จากนั้นไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนกำแพงเพชร ทางรถไฟสายเหนือ และถนนเทอดดำริ เข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต จนถึงถนนเตชะวณิช (สามแยกวัดสะพานสูง) ถนนพระรามที่ 6 เดิมชื่อ "ถนนประทัดทอง" สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คำว่า "ประทัดทอง" นั้นจากชื่อเครื่องลายครามที่มีภาพต้นประทัดทอง ภายหลังเรียกเพี้ยนเป็นบรรทัดทอง ครั้นมาถึงในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนประทัดทองตลอดทั้งสายเป็น "ถนนพระรามที่ 6" เพราะเป็นถนนที่โปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงเป็นเส้นทางไปโรงกรองน้ำประปาสามเสน และต่อไปยังสะพานพระราม 6.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนพระรามที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชวิถี (กรุงเทพมหานคร)

นนราชวิถี (ถ่ายจากมุมสูง) ถนนราชวิถี (Thanon Ratchawithi) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากจุดบรรจบระหว่างถนนราชปรารภกับถนนดินแดงในท้องที่แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพญาไท และถนนพหลโยธินที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เข้าสู่ท้องที่แขวงทุ่งพญาไท ผ่านโรงพยาบาลราชวิถี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ไปตัดกับถนนพระรามที่ 6 (สี่แยกตึกชัย) ตัดกับถนนกำแพงเพชร 5 และทางรถไฟสายเหนือ เข้าสู่ท้องที่แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต ตัดกับถนนสวรรคโลก (สี่แยกอุภัยเจษฎุทิศ) และถนนพระรามที่ 5 (สี่แยกราชวิถี) ผ่านสวนสัตว์ดุสิต จากนั้นตัดกับถนนอู่ทองใน (สามแยกอู่ทองใน) ถนนนครราชสีมา (สี่แยกการเรือน) และถนนสามเสน (สี่แยกซังฮี้) เข้าสู่ท้องที่แขวงวชิรพยาบาล ก่อนข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา (สะพานกรุงธนบุรี) เข้าเขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งการพื้นที่ปกครองระหว่างแขวงบางพลัดกับแขวงบางยี่ขันไปจนถึงถนนจรัญสนิทวงศ์ (สี่แยกบางพลัด) ถนนราชวิถี เดิมชื่อ ถนนซางฮี้ สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังดุสิตบริเวณพื้นที่ระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมและคลองสามเสน โปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนรอบพระราชวังดุสิต 3 สาย คือ ถนนลก (ปัจจุบันคือถนนพระรามที่ 5) ถนนดวงตะวัน (ปัจจุบันคือถนนศรีอยุธยา) และถนนซางฮี้ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าซังฮี้ (ปัจจุบันคือถนนราชวิถี) นามถนนทั้ง 3 สายนี้ พระราชทานตามชื่อเครื่องกิมตึ๋งคือภาพเครื่องลายครามจีน "ซางฮี้" (อักษรจีน: 双喜) ในภาษาจีนสำเนียงแต้จิ๋วแปลว่า มงคลคู่ หมายความว่า สุข สนุก สบาย อักษรซางฮี้ใช้เป็นเครื่องหมายในงานมงคล เช่น งานแต่งงาน และใช้เป็นลวดลายประดับสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อความเป็นสิริมงคล ต่อมาในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนซางฮี้เป็น "ถนนราชวิถี".

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนราชวิถี (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำริ

นนราชดำริ (Thanon Ratchadamri) เป็นถนนที่เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงปทุมวันกับแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางเริ่มตั้งแต่สี่แยกศาลาแดง ถนนพระรามที่ 4 ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกราชประสงค์ และสิ้นสุดที่สี่แยกประตูน้ำ ถนนเพชรบุรี ถนนราชดำริมีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนราชดำริ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชปรารภ

นนราชปรารภ ถนนราชปรารภ (Thanon Ratchaprarop) ถนนสายหนึ่งในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 1.4 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่สามเหลี่ยมดินแดง ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนราชวิถีกับถนนดินแดงในท้องที่แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี มุ่งไปทางทิศใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรางน้ำและถนนศรีอยุธยา ไปสิ้นสุดที่แยกประตูน้ำซึ่งเป็นแยกตัดกับถนนเพชรบุรี.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนราชปรารภ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนวิทยุ

นนวิทยุ ถนนวิทยุ (quote เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (แยกวิทยุ) ในท้องที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนสารสิน (แยกสารสิน) และถนนเพลินจิต (แยกเพลินจิต) จากนั้นข้ามคลองแสนแสบเข้าสู่ท้องที่แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี และไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรบุรี (แยกวิทยุ-เพชรบุรี) ถนนวิทยุเป็นถนนที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2463 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตัดเพื่อเชื่อมถนนเพลินจิตกับถนนพระรามที่ 4 ผ่านที่ตั้งวิทยุโทรเลข ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "ถนนวิทยุ" เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2464 เนื่องจากตัดผ่านสถานีวิทยุแห่งแรกของไทย ซึ่งพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธินทรงจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2479 ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกของสวนลุมพินี (ปัจจุบันอยู่ในบริเวณที่เคยเป็นโรงเรียนเตรียมทหาร) จึงตั้งชื่อถนนตามสถานที่ที่ตัดถนนผ่านว่าถนนวิทยุ ถนนวิทยุ นับว่าเป็นถนนสายสั้น ๆ ที่มีความยาวประมาณ 2.6 กิโลเมตร แต่เป็นถนนที่เป็นที่ตั้งของสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงศุลมากถึง 22 แห่ง นับว่ามากที่สุดในประเทศไทย อีกทั้งยังแวดล้อมไปด้วยอาคารของกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ตลอดจนโรงแรม และยังอยู่ใกล้เคียงกับศูนย์การค้าชั้นแนวหน้าหลายแห่ง อีกทั้งยังเป็นถนนที่มีความร่มรื่นด้วยทั้งสองข้างทาง รวมถึงเกาะกลางถนนมีต้นไม้ใหญ่ และยังเลียบขนานไปกับสวนลุมพินีในช่วงระหว่างแยกวิทยุกับแยกสารสิน สวนสาธารณะขนาดใหญ่และเป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยอีกด้วย จึงทำให้ที่ดินแถบถนนวิทยุนี้มีมูลค่าสูงมาก.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนวิทยุ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศรีอยุธยา

นนศรีอยุธยาบริเวณหน้าโรงพยาบาลพญาไท 1 สนามเสือป่า โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ถนนศรีอยุธยา (Thanon Si Ayutthaya) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนราชปรารภ เขตราชเทวี ไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนพญาไท (สี่แยกพญาไท) ถนนพระรามที่ 6 (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนกำแพงเพชร 5 และทางรถไฟสายเหนือ เข้าสู่ท้องที่เขตดุสิต จากนั้นตัดกับถนนสวรรคโลก (สี่แยกเสาวนี) ถนนพระรามที่ 5 (สี่แยกวัดเบญจฯ) ถนนราชดำเนินนอก (สี่แยกหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า) ถนนนครราชสีมา (สี่แยกหอประชุมทหารบก) และถนนสามเสน (สี่แยกสี่เสาเทเวศร์) ไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพร.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอโศก-ดินแดง

สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินเพชรบุรี ถนนอโศก-ดินแดง (Thanon Asok – Din Daeng) เป็นถนนที่ต่อจากถนนอโศกมนตรีตั้งแต่ทางแยกอโศก-เพชรบุรี ไปจนถึงถนนดินแดงที่ทางแยกประชาสงเคราะห์ (โบสถ์แม่พระ) อยู่ในพื้นที่เขตราชเทวีและเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร และส่วนหนึ่งของถนนเส้นนี้เป็นของวงแหวนรัชดาภิเษก จากประวัติของโบสถ์แม่พระฟาติมา ถนนอโศก-ดินแดง สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2515 อโศก-ดินแดง อโศก-ดินแดง อโศก-ดินแดง.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนอโศก-ดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอโศกมนตรี

นนอโศกมนตรีช่วงที่ตัดกับถนนรัชดาภิเษกและถนนสุขุมวิท (แยกอโศกมนตรี) ถนนอโศกมนตรี (Thanon Asok Montri) เป็นถนนสายสั้น ๆ ในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 1.3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกอโศกมนตรีซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิทกับถนนรัชดาภิเษก (ที่มุ่งหน้ามาจากเขตคลองเตย) มุ่งไปทางทิศเหนือในพื้นที่แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา ข้ามคลองแสนแสบ เข้าพื้นที่แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี ไปสิ้นสุดที่แยกอโศก-เพชรบุรีซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนเพชรบุรี ปัจจุบันถนนเส้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวงแหวนรัชดาภิเษก และตรงไปเป็นถนนอโศก-ดินแดง ถนนอโศกมนตรีเดิมมีชื่อเรียกว่า "ซอยสุขุมวิท 21 (ซอยอโศก)" และ "ถนนอโศก" โดยกรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อเป็น ถนนอโศกมนตรี เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2547 ตามข้อเสนอของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่พระอโศกมนตรี (เรียม เศวตเศรณี) ซึ่งเป็นข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้อุทิศที่ดินร่วมกับเจ้าของที่ดินรายอื่นและซื้อที่ดินที่เป็นตลาดเดิมมอบให้เทศบาลนครกรุงเทพสร้างถนนสายนี้ สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ มีโรงพยาบาลจักษุรัตนิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ตึกจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อาคารสภาวิชาชีพบัญชีฯ และสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนอโศกมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพชรบุรี

นนเพชรบุรีช่วงแยกประตูน้ำบริเวณหน้าห้างแพลทินัมแฟชันมอลล์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ช่วงหน้าโรงเรียนเซนต์ดอมินิก ถนนเพชรบุรี (Thanon Phetchaburi) เป็นเส้นทางจราจรสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและถนนเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษศรีรัช

ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและทางพิเศษศรีรัช · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 1 เป็นทางพิเศษสายแรกของประเทศไทย ก่อสร้างและเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและทางพิเศษเฉลิมมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ท่าประตูน้ำ

ท่าประตูน้ำ (Tha Pratunam) เป็นท่าจอดเรือของเรือโดยสารคลองแสนแสบบริเวณเชิงสะพานเฉลิมโลก 55 ด้านทิศตะวันออก ถนนราชดำริ ระหว่างสี่แยกประตูน้ำ (ตัดถนนเพชรบุรีและถนนราชปรารภ) และสี่แยกราชประสงค์ ในพื้นที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ท่าเรือแห่งนี้เป็นจุดเปลี่ยนเรือระหว่างเรือขนาดใหญ่บรรทุก 150-200 คน (ท่าวัดศรีบุญเรือง-ประตูน้ำ) และเรือขนาดเล็กบรรทุก 80-100 คน (ท่าประตูน้ำ-สะพานผ่านฟ้า) ผู้โดยสารที่เดินทางผ่านท่านี้สามารถเดินทางต่อได้โดยไม่เสียค่าเรือเพิ่ม โดยเปลี่ยนจากเรือลำเดิมเป็นลำใหม่บนฝั่งเดียวกัน และแสดงตั๋วจากเรือลำเดิมกับพนักงานเก็บเงินบนเรือลำใหม.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและท่าประตูน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

คลองมหานาค

ลองมหานาค ช่วงสะพานมหาดไทยอุทิศ คลองมหานาค เป็นคลองขุดสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่แยกมาจากคลองรอบกรุง ในอดีตใช้เป็นสถานที่สำหรับให้ชาวพระนครมาเล่นเพลงสักวากันในช่วงน้ำหลาก ต่อมาได้มีการขุดคลองเพื่อเชื่อมต่อกับเครือข่ายคลองสายอื่นสำหรับขนส่งกำลังพลและเสบียงช่วงอานัมสยามยุท.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคลองมหานาค · ดูเพิ่มเติม »

คลองแสนแสบ

รือด่วนในคลองแสนแสบ คลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกงเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ. 2380 ด้วยพระราชประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งอาวุธยุทธภัณฑ์ กำลังรบ และเสบียงอาหารไปยังญวน (เวียดนาม) ในราชการสงครามไทย-ญวน ซึ่งใช้เวลารบนานถึง 14 ปี ใน คือ อานามสยามยุทธ คลองแสนแสบเป็นเส้นทางโดยสารที่นิยมเป็นอย่างมากเพราะสะดวกและรวดเร็ว แต่ในปัจจุบันนั้นมีปัญหามลภาวะทางน้ำ ส่งกลิ่นเหม็นเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีการทำลายสิ่งแวดล้อมโดยการทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ทำให้คลองแสนแสบนั้นมีสภาพที่สกปรกไม่น่ามอง.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคลองแสนแสบ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะสาธารณสุขแห่งแรกของไทย และมีบทบาทในการวางรากฐานด้านการศึกษาทางสาธารณสุขของประเทศมาโดยตลอ.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เดิมมีชื่อว่า คณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะฯ ขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2511 เพื่อเพิ่มจำนวนทันตแพทย์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศในขณะนั้น คณะทันตแพทยศาสตร์ พญาไท เลขที่ 6 ถนนโยธี เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์คณะที่ 2 โดยขยายมาจากคณะทันตแพทยศาสตร์คณะแรกที่ถนนอังรีดูนังต์ ต่อมาในวันที่ 2 มีนาคม 2512 มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหิดล อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อมหาวิทยาลัยมหิดลแทน ชื่อเดิมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ชื่อของ คณะทันตแพทยศาสตร์ จึงเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท มหาวิทยาลัยมหิดล..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ในยุคของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ซึ่งแรกก่อตั้งใช้ชื่อว่า คณะเภสัชศาสตร์ พญาไท มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เนื่องจากในเวลานั้นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอนย้ายสังกัดคณะเภสัชศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาก่อนหน้าแล้ว (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาโรคต่าง ๆ ในเขตร้อน เป็นคณะด้านนี้แห่งเดียวในประเทศไทย และเป็นคณะที่มีผลงานวิจัยจำนวนมากตีพิมพ์ในวารสารระดับโลก นอกจากนี้ คณะยังมีโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ที่เปิดให้การรักษาพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคเขตร้อน อายุรกรรมทั่วไป และอายุรกรรมเฉพาะทางหลากหล.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะลำดับที่ 20 ของมหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเดิมคือภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และสำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ก่อตั้งขึ้นในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและแขวง · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

รงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 1,200 เตียง ตามอัตราการจัดเฉพาะกิจที่ 3600 มีภารกิจดังต่อไปนี้ 1.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลราชวิถี

รงพยาบาลราชวิถี เป็นโรงพยาบาลรัฐบาล นับเป็นโรงพยาบาลศูนย์วิชาการที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มีผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือ นายแพทย์มานัส โพธาภรณ.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและโรงพยาบาลราชวิถี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลรามาธิบดี

รงพยาบาลรามาธิบดี เป็นหน่วยงานหนึ่งในระดับภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นสถานพยาบาลแห่งหนึ่งของรัฐ ตั้งอยู่เลขที่ 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 มีเนื้อที่ทั้งหมด 38 ไร่ มีอาคารรวม 20 อาคาร เริ่มเปิดดำเนินการรักษาคนไข้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เขตราชเทวีและโรงพยาบาลรามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน

รงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเฉพาะทางที่ให้การบริการรักษาโรคเขตร้อน อยู่ภายใต้สังกัดคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล บริการการพยาบาลโรคในที่พบอย่างชุกในเขตรร้อนชื้น อาทิโรคมาลาเรีย โรคพยาธิต่างๆ โรคตับ โรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ จำลอง หะริณสุต และศาสตราจารย์ แพทย์หญิง คุณหญิงตระหนักจิต หะริณสุต เป็นหน่วยงานในคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ตึกเวชกรรมเมืองร้อน อาคาร 3 ชั้น มีศาสตราจารย์ แพทย์หญิง คุณหญิงตระหนักจิต หะริณสุต เป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลคนแรก โรงพยาบาลเปิดรับรักษาเฉพาะผู้ป่วยใน ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่ถูกส่งมาจากโรงพยาบาลศิริราช หรือสถานพยาบาลอื่นๆ ในสมัยนั้นมีหอผู้ป่วยเพียงหอเดียว เป็นหอผู้ป่วยรวม ใช้ฉากกั้นระหว่างผู้ป่วยชายและผู้ป่วยหญิง มีจำนวน 20 เตียง ในปีต่อมามีผู้ป่วยมาขอรับบริการที่โรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น ทางโรงพยาบาลจึงได้มีการจัดส่วนหนึ่งของหอผู้ป่วยทำเป็นแผนกตรวจผู้ป่วยนอก นับเป็นจุดเริ่มต้นของแผนกผู้ป่วยนอก หลังจากนั้นก็ได้มีการก่อสร้างอาคารใหม่ 5 ชั้น เพื่อรองรับกับจำนวนผู้ป่วยที่มาขอรับบริการ โดยสร้างอาคารเสร็จเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2507 และได้ทำการย้ายผู้ป่วยไปยังอาคารใหม่ มีการดัดแปลงห้องผู้ป่วยเดิมเป็นแผนกผู้ป่วยนอก และขยายการบริการไปเรื่อยๆจนครบทั้งหมด 5 ชั้น จากช่วงที่เริ่มเปิดโรงพยาบาล มีเตียงผู้ป่วยเพียงแค่ 20 เตียง แต่ได้มีการพัฒนาโรงพยาบาลเรื่อยมาจนในปัจจุบันมีความสามารถในการรองรับผู้ป่วยได้ถึง 250 เตียง แบ่งเป็น เตียงผู้ป่วยสามัญ เตียงผู้ป่วยพิเศษ เตียง ICU เป็นต้น โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางที่ให้การบริการรักษาโรคเขตร้อน ได้แก่ โรค มาลาเรีย โรคพยาธิต่างๆ โรคตับ โรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา นอกจากนี้ยังมีให้บริการตรวจโรคมาลาเรียตลอด 24 ชั่วโมง และรักษาโรคทางอายุรกรรมทั่วไป และเปิดให้บริการการรักษาพยาบาลคลินิคพิเศษต่างๆ เช่น คลินิคพยาธิตัวจี๊ด คลินิคเวชศาสตร์การท่องเที่ยวและการเดินทาง (Travel Clinic) คลินิคโรคทางเดินอาหาร โรคตับ คลินิคเวชศาสตร์แผนจีน (ฝังเข็ม) หน่วยเวชศาสตร์แผนไทย แต่เนื่องจากโรคพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนเป็นโรงพยาบาลเฉพาะทาง จึงไม่มีแผนกศัลยกรรม แผนกสูตินรีเวช แผนกอุบัติเหตุ นอกจากภารกิจในการให้บริการคนไข้แล้ว โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนยังมีส่วนสำคัญช่วยสนับสนุนคณะเวชศาสตร์เขตร้อนในงานวิชาการด้านต่างๆ ทั้งการสอน การวิจัย และเป็นที่ศึกษาดูงานของแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเท.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลเด็ก

็กที่โรงพยาบาลเด็กเซนต์หลุยส์ โรงพยาบาลเด็ก (Children's hospital) เป็นโรงพยาบาลที่ให้บริการแก่เด็กโดยเฉพาะ (ซึ่งรวมถึงวัยรุ่น) โรงพยาบาลเด็กสามารถให้บริการเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 18 ปี หรือในบางกรณี แพทย์โรงพยาบาลเด็กอาจรักษาเด็กจนกว่าพวกเขาจะเรียนจบระดับชั้นมัธยม จำนวนของโรงพยาบาลเด็กได้ขยายออกในช่วงศตวรรษที่ 20 แพทย์กุมารเวชศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญการผ่าตัดจะแยกส่วนออกจากอายุรศาสตร์และการผ่าตัดพิเศษสำหรับผู้ใหญ่ โรงพยาบาลเด็กมีความโดดเด่นด้านความสนใจมากขึ้นในการสนับสนุนด้านจิตวิทยาของเด็กและครอบครัวของพวกเขา นอกจากการสนับสนุนด้านจิตวิทยา โรงพยาบาลเด็กยังได้มีสิทธิประโยชน์เพิ่มเติมของพนักงานให้บริการ โดยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการฝึกฝนในการรักษาเด็ก ในขณะที่โรงพยาบาลตามปกติจำนวนมากสามารถรักษาเด็กได้อย่างพอหอมปากหอมคอ แต่หากเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กอาจจะเป็นทางเลือกที่ดีเมื่อมันมาถึงการรักษาโรคที่หายาก ที่อาจพิสูจน์ได้ว่าร้ายแรงหรือเป็นอันตรายค่อนข้างมากสำหรับเด็กเล็ก หรือในบางกรณีก่อนที่เด็กจะถือกำเนิด นอกจากนี้ โรงพยาบาลเด็กหลายแห่งจะยังคงดูแลเด็กที่เป็นโรคหายากต่อไปจนเข้าสู่วัยฉกรรจ์ เพื่อให้เกิดการดูแลอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและโรงพยาบาลเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

เรือโดยสารคลองแสนแสบ

ท่าเรือประตูน้ำ เรือโดยสารคลองแสนแสบ เป็นบริการเรือด่วนในคลองแสนแสบ และคลองมหานาค มีเส้นทางระหว่าง ท่าน้ำวัดศรีบุญเรือง ในเขตบางกะปิ จนถึง ท่าสะพานผ่านฟ้าลีลาศ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย โดยมีจุดต่อเรือที่ ท่าประตูน้ำ รวม 28 ท่าเรือ ดำเนินงานโดยกลุ่มเรือหางยาวที่รวมตัวกันในนาม ห้างหุ้นส่วนจำกัด ครอบครัวขนส่ง เปิดให้บริการครั้งแรกในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2533 จากการชักชวนของ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยนั้น เส้นทางการเดินเรือมีความยาวประมาณ 18 กิโลเมตร ให้บริการผู้โดยสารวันละกว่า 4 หมื่นคนทางการเดินเรืออกไปอีก 11 กิโลเมตรถึงมีนบุรี.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและเรือโดยสารคลองแสนแสบ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพญาไท

ตพญาไท เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและเขตพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

เขตวัฒนา

ตวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและเขตวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตดินแดง

ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและเขตดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤศจิกายน

วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เขตราชเทวีและ6 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ราชเทวีอำเภอราชเทวี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »