โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขตบางนา

ดัชนี เขตบางนา

ตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร.

48 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2457พ.ศ. 2470พ.ศ. 2472พ.ศ. 2498พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2560กรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรถไฟฟ้าบีทีเอสศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพอำเภออำเภอบางพลีอำเภอพระประแดงอำเภอเมืองสมุทรปราการจังหวัดพระประแดงจังหวัดพระนครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดธนบุรีธันวาคมถนนศรีนครินทร์ถนนสรรพาวุธถนนสุขุมวิทถนนอุดมสุขถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำถนนเทพรัตนทางพิเศษบูรพาวิถีทางพิเศษสาย S1ทางพิเศษเฉลิมมหานครตำบลตุลาคมแม่น้ำเจ้าพระยาแขวงโรงเรียนลาซาลโรงเรียนศรีเอี่ยมอนุสรณ์โรงเรียนสิริรัตนาธรเขตพระโขนงเขตประเวศ14 ตุลาคม26 กรกฎาคม6 มีนาคม7 พฤศจิกายน

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2472 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เขตบางนาและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: เขตบางนาและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528.

ใหม่!!: เขตบางนาและกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: เขตบางนาและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: เขตบางนาและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค

ูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค (Bangkok International Trade & Exhibition Centre: BITEC) เป็นศูนย์ประชุมและศูนย์แสดงสินค้าขนาด 50,400 ตารางเมตร เปิดให้บริการเมื่อ พ.ศ. 2540 ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 88 ถนนเทพรัตนและถนนสุขุมวิท แขวงบางนาใต้ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2549 ไบเทคได้รับการจัดลำดับจากผู้จัดงานทั่วโลกให้เป็น 1 ใน 5 ของศูนย์แสดงนิทรรศการและการประชุมที่ดีที่สุดในเอเชีย-แปซิฟิก (ผลสำรวจในนิตยสารซีอีไอฉบับ Industry Survey 2549) และในปี พ.ศ. 2550 ไบเทคได้รับรางวัลชนะเลิศด้านการปฏิบัติการระดับโลก จากสมาพันธ์อุตสาหกรรมการแสดงสินค้าโลก (UFI).

ใหม่!!: เขตบางนาและศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ

มสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย และเป็นส่วนหนึ่งในสายงานธุรกิจของธนาคารกรุงเทพ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2506 โดยสามารถชนะเลิศ ถ้วย ก ได้ถึง 9 สมัย และ เป็นทีมแรกที่ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอล ไทยลีก ในปี พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: เขตบางนาและสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: เขตบางนาและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางพลี

งพลี เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ตั้งของโครงการสร้างศูนย์ที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุแบบครบวงจร และเป็นที่ตั้งของสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลทางเข้าวัดบัวโร.

ใหม่!!: เขตบางนาและอำเภอบางพลี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพระประแดง

ระประแดง เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ ในอดีตมีฐานะเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระประแดง แต่ต่อมาถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: เขตบางนาและอำเภอพระประแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสมุทรปราการ

มืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับอำเภอพระสมุทรเจดีย์ นอกจากเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดแล้ว อำเภอเมืองสมุทรปราการยังเป็นที่ตั้งของศาลเด็กและเยาวชน ห้องสมุดประชาชน และท่ารถโดยสารประจำทางสายต่าง ๆ รวมทั้งเป็นบริเวณที่จัดงานพระสมุทรเจดีย์ของทุกปี อำเภอนี้เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: เขตบางนาและอำเภอเมืองสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระประแดง

ังหวัดพระประแดง เป็นจังหวัดของประเทศไทยในอดีต ประกอบด้วยอำเภอพระประแดง, อำเภอบ้านทะวาย (ยานนาวา) อำเภอพระโขนง และอำเภอราษฎร์บูรณะ ถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการ, จังหวัดพระนคร และจังหวัดธนบุรี หากจังหวัดพระประแดงยังคงอยู่ในปัจจุบัน จะประกอบด้วยอำเภอดังนี้ ซึ่งอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 205.38 ตร.กม.

ใหม่!!: เขตบางนาและจังหวัดพระประแดง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: เขตบางนาและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: เขตบางนาและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดธนบุรี

ตราประจำจังหวัดธนบุรี จังหวัดธนบุรี เป็นจังหวัดในอดีตที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับจังหวัดพระนคร ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี จนกระทั่ง พ.ศ. 2514 ได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เป็น นครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตบางนาและจังหวัดธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม

ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ใหม่!!: เขตบางนาและธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศรีนครินทร์

นนศรีนครินทร์ (Thanon Srinagarindra) เป็นถนนที่ตั้งชื่อขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีจุดเริ่มต้นจากถนนลาดพร้าวที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนสุขุมวิทที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ลักษณะถนนแบบ 4-8 ช่องจราจร ระยะทางทั้งหมด 20.181 กิโลเมตร โดยมีระยะทางอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 12.5 กิโลเมตร ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ 7.681 กิโลเมตร ตลอดแนวถนนไปจนถึงทางแยกศรีเทพาเป็นเส้นทางส่วนใหญ่ของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเกาะกลางถนน ถนนศรีนครินทร์ช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 (ทางแยกบางกะปิ) จนถึงกิโลเมตรที่ 10 มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ กรุงเทพมหานคร และช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 10 (ทางแยกศรีอุดม) ไปจนถึงกิโลเมตรที่ 20+181 (ทางแยกการไฟฟ้า) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ แขวงทางหลวงสมุทรปราการ กรมทางหลวง ช่วงที่สองนี้มีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3344 สายอุดมสุข–สมุทรปราการ.

ใหม่!!: เขตบางนาและถนนศรีนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสรรพาวุธ

ถนนสรรพาวุธ (Thanon Sanphawut) ซึ่งบางส่วนมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3102 สายบางนา - สรรพาวุธ เป็นถนนสายสั้น ๆ ในพื้นที่เขตบางนา กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 2 กิโลเมตรเศษ เริ่มต้นจากบริเวณทางแยกบางนา (ซึ่งเป็นจุดบรรจบกันของถนนสุขุมวิท ถนนเทพรัตน และทางพิเศษเฉลิมมหานคร) จากนั้นจึงตัดกับถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำที่ทางแยกสรรพาวุธ และไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณวัดบางนานอก โดยเป็นถนนขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง ช่วง 70 เมตรแรกจากสี่แยกบางนาเป็นเขตควบคุมของหมวดการทางบางนาที่ 1 แขวงการทางสมุทรปราการ (หน่วยงานของกรมทางหลวง) ส่วนระยะทางที่เหลือเป็นเขตควบคุมของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร 3102 4-3102 หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตบางนา.

ใหม่!!: เขตบางนาและถนนสรรพาวุธ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขุมวิท

นนสุขุมวิท (Thanon Sukhumvit) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 สายบางนา–หาดเล็ก เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย จุดเริ่มต้นเชื่อมต่อจากถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางไปตามชายทะเลภาคตะวันออก และสิ้นสุดที่อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดต่อกับชายแดนจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา รวมระยะทางยาวทั้งสิ้นประมาณ 488 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตบางนาและถนนสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอุดมสุข

ถนนอุดมสุข ถนนอุดมสุข (Thanon Udom Suk) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตบางนาและเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร เดิมคือ ซอยสุขุมวิท 103 มีระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นถนนแบบ 4 ช่องทางจราจรไม่มีเกาะกลาง แยกจากถนนสุขุมวิทที่ทางแยกอุดมสุขในพื้นที่แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา ตรงไปทางทิศตะวันออก เมื่อถึงซอยอุดมสุข 29 (พุทธวิถี 1) เป็นเส้นแบ่งพื้นที่การปกครองระหว่างเขตบางนากับเขตพระโขนง จนกระทั่งข้ามคลองเคล็ดจึงเข้าพื้นที่แขวงหนองบอน เขตประเวศ แนวเส้นทางยังคงมุ่งไปทางทิศตะวันออกจนไปสิ้นสุดที่ทางแยกศรีอุดมซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ถนนอุดมสุขเป็นถนนที่มีตลาดตลอดทั้งวัน โดยในตอนเช้าจะมีตลาดสด ส่วนตอนบ่ายจนถึงเย็นจะเริ่มแปรเป็นตลาดอาหารสำเร็จรูป ตลอดเส้นทางของถนนอุดมสุขมีสิ่งอำนวยความสะดวกหลายอย่าง เช่น ร้านบริการอัดรูป ธนาคาร สนามกอล์ฟ สนามเทนนิส ศูนย์พยาบาลสำหรับประชาชน ร้านตัดผม ร้านรับทำกุญแจ เป็นต้น หมวดหมู่:ถนนในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ถนนในเขตบางนา หมวดหมู่:ถนนในเขตประเวศ.

ใหม่!!: เขตบางนาและถนนอุดมสุข · ดูเพิ่มเติม »

ถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ

นนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ (Thanon Thang Rotfai Sai Kao Paknam) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ เดิมเป็นทางเดินรถไฟสายปากน้ำ ต่อมาเมื่อยกเลิกรถไฟสายปากน้ำแล้วจึงปรับเป็นถนนขนาด 2 ช่องทางจราจรสวนทาง มีจุดเริ่มต้นจากถนนพระรามที่ 4 ในพื้นที่แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ตัดกับถนนเกษมราษฏร์ แล้วจึงเลียบทางพิเศษเฉลิมมหานคร ตัดกับถนนกล้วยน้ำไทแล้วจึงลอดใต้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร จากนั้นจึงข้ามคลองพระโขนงเข้าสู่แขวงพระโขนง เขตคลองเตย ตัดกับซอยสุขุมวิท 50 จากนั้นจึงเข้าพื้นที่แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง บริเวณใกล้กับจุดตัดกับถนนอาจณรงค์ซึ่งเป็นถนนเลียบทางรถไฟ แล้วเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา ตัดกับซอยสุขุมวิท 62 จากนั้นจึงข้ามคลองบางอ้อเข้าพื้นที่แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา ตัดกับถนนสรรพาวุธเข้าพื้นที่แขวงบางนาใต้ จากนั้นจึงเข้าเขตจังหวัดสมุทรปราการ โดยถนนสายนี้ทำหน้าที่แบ่งเขตระหว่างเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ กับเขตเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย อำเภอพระประแดง จากนั้นจึงตัดกับซอยสุขุมวิท 78 (ทางเข้าห้างสรรพสินค้าอิมพิเรียลเวิลด์ สำโรง และโรงพยาบาลสำโรง) แล้วตัดกับถนนปู่เจ้าสมิงพราย สุดท้ายจึงลอดใต้ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ และไปสิ้นสุดที่ถนนสุขุมวิทกิโลเมตรที่ 22 (บริเวณพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ) โดยถนนสายนี้ช่วงตั้งแต่ถนนสุขุมวิทถึงถนนปู่เจ้าสมิงพรายเปิดให้เดินรถขาขึ้นได้ทางเดียว ถนนทางรถไฟสายเก่านี้เดิมเคยเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3109 ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานครและกรมทางหลวงชนบท (ช่วงถนนในเขตจังหวัดสมุทรปราการ).

ใหม่!!: เขตบางนาและถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเทพรัตน

นนเทพรัตน (Thanon Debaratana) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 สายบางนา–หนองไม้แดง เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก–ตะวันออก แยกออกมาจากถนนสุขุมวิท ในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร แล้วไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง ในท้องที่อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: เขตบางนาและถนนเทพรัตน · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษบูรพาวิถี

ทางพิเศษบูรพาวิถี หรือ ทางด่วน 4 เป็นทางพิเศษที่ดำเนินการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: เขตบางนาและทางพิเศษบูรพาวิถี · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษสาย S1

ทางพิเศษสาย S1 หรือ ทางด่วนขั้นที่ 3 สายใต้ ตอน S1 เป็นเส้นทางของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เป็นทางพิเศษยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร มีจุดเริ่มต้นจากปลายทางพิเศษฉลองรัช ซ้อนทับไปตามแนวทางพิเศษเฉลิมมหานครเดิม (ราบโรงกลั่น) เชื่อมต่อกับทางพิเศษบูรพาวิถี ระยะทาง 4.7 กิโลเมตรรู้จักในนาม ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ ก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดใช้เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ซึ่งมีพิธีเปิดบริเวณ ด่านบางนา กม.6 ขาเข้.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นประธานในพิธี มีด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษจำนวน 1 ด่านคือ ด่านบางจาก ซึ่งเป็นด่านของทางพิเศษเฉลิมมหานคร.

ใหม่!!: เขตบางนาและทางพิเศษสาย S1 · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 1 เป็นทางพิเศษสายแรกของประเทศไทย ก่อสร้างและเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: เขตบางนาและทางพิเศษเฉลิมมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: เขตบางนาและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม

ตุลาคม เป็นเดือนที่ 10 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนตุลาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีตุล และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพิจิก แต่ในทางดาราศาสตร์ เดือนตุลาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาวและไปอยู่ในกลุ่มดาวคันชั่งตอนต้นเดือนพฤศจิกายน เดือนตุลาคมในภาษาอังกฤษ October มาจากภาษาละติน octo เนื่องจากเป็นเดือนที่ 8 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนตุลาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: เขตบางนาและตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: เขตบางนาและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตบางนาและแขวง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนลาซาล

รงเรียนลาซาลกรุงเทพ เป็นโรงเรียนสหศึกษาเอกชนโรมันคาทอลิก ที่คณะภราดาลาซาลตั้งขึ้นเป็นสาขาที่ 3 และสาขาล่าสุดของเครือข่ายโรงเรียนลาซาลในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2506 โดย 2 แห่งก่อนหน้านี้คือโรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์และโรงเรียนลาซาลจันทบุรี (มารดาพิทักษ์) ที่ตั้งในปี พ.ศ. 2503 และ พ.ศ. 2505 ตามลำดับ โรงเรียนลาซาลกรุงเทพ ตั้งอยู่ที่ 752 ถนนลาซาล แขวงบางนาใต้ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร เปิดสอนในระดับอนุบาล จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ก่อตั้งในวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2506 โดยมีภราดาพิเอเลต์ ไมเคิล ดำรงตำแหน่ง​ผู้รับใบอนุญาตคนแรก และมีนักบุญฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล เป็นองค์อุปถัมภ์ของโรงเรียน.

ใหม่!!: เขตบางนาและโรงเรียนลาซาล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีเอี่ยมอนุสรณ์

รงเรียนศรีเอี่ยมอนุสรณ์ เป็นโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตบางนา กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่เลขที่ 111/2 ถนนเทพรัตน กิโลเมตรที่ 4 แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ชื่อโรงเรียนได้นำมาจากสมณศักดิ์ของพระครูศรีวรพินิจ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน และชื่อสกุลของคุณย่าขาบ อ่องเอี่ยม ผู้บริจาคที่ดิน ทั้งนี้ เพื่อเป็นอนุสรณ์ จึงกำหนดให้ตั้งชื่อโรงเรียนว่า "โรงเรียนศรีเอี่ยมอนุสรณ์".

ใหม่!!: เขตบางนาและโรงเรียนศรีเอี่ยมอนุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสิริรัตนาธร

รงเรียนสิริรัตนาธร (อักษรย่อ: ส.ร.ธ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ อยู่ในเครือข่ายสหวิทยาเขตเบญจสิร.

ใหม่!!: เขตบางนาและโรงเรียนสิริรัตนาธร · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระโขนง

ตพระโขนง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้.

ใหม่!!: เขตบางนาและเขตพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

เขตประเวศ

ตประเวศ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตศรีนครินทร์ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์ชุมชนชานเมือง แหล่งงานและการบริการเพื่อรองรับท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: เขตบางนาและเขตประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เขตบางนาและ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เขตบางนาและ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เขตบางนาและ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เขตบางนาและ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อำเภอบางนา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »