โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขตคันนายาวและเขตบึงกุ่ม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เขตคันนายาวและเขตบึงกุ่ม

เขตคันนายาว vs. เขตบึงกุ่ม

ตคันนายาว เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที. ตบึงกุ่ม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางตอนกลางของพื้นที.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เขตคันนายาวและเขตบึงกุ่ม

เขตคันนายาวและเขตบึงกุ่ม มี 34 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2386พ.ศ. 2506พ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2532พ.ศ. 2540พ.ศ. 2552พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพฤษภาคมกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหลวงพระบางจังหวัดพระนครจังหวัดธนบุรีจำปาศักดิ์ธันวาคมถนนประเสริฐมนูกิจถนนนวมินทร์ถนนเสรีไทยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350คลองแสนแสบแขวงเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)เขตบางกะปิเขตบางเขนเขตลาดพร้าว...เขตสะพานสูง20 กรกฎาคม21 กันยายน4 กันยายน ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

พ.ศ. 2386

ทธศักราช 2386 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2386และเขตคันนายาว · พ.ศ. 2386และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2506และเขตคันนายาว · พ.ศ. 2506และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2514และเขตคันนายาว · พ.ศ. 2514และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2515และเขตคันนายาว · พ.ศ. 2515และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2532และเขตคันนายาว · พ.ศ. 2532และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2540และเขตคันนายาว · พ.ศ. 2540และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

พ.ศ. 2552และเขตคันนายาว · พ.ศ. 2552และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและเขตคันนายาว · พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

พฤษภาคมและเขตคันนายาว · พฤษภาคมและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)และเขตคันนายาว · กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและเขตคันนายาว · กรุงเทพมหานครและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร

ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.

รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครและเขตคันนายาว · รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครและเขตคันนายาว · รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรและเขตคันนายาว · หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพระบาง

หลวงพระบาง (ຫຼວງພຣະບາງ) เป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกันบริเวณนั้นเรียกว่า ปากคาน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้ว.

หลวงพระบางและเขตคันนายาว · หลวงพระบางและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

จังหวัดพระนครและเขตคันนายาว · จังหวัดพระนครและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดธนบุรี

ตราประจำจังหวัดธนบุรี จังหวัดธนบุรี เป็นจังหวัดในอดีตที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับจังหวัดพระนคร ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี จนกระทั่ง พ.ศ. 2514 ได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เป็น นครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อปี..

จังหวัดธนบุรีและเขตคันนายาว · จังหวัดธนบุรีและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

จำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ เป็นเมืองหนึ่งของแขวงจำปาศักดิ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศลาว.

จำปาศักดิ์และเขตคันนายาว · จำปาศักดิ์และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม

ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.

ธันวาคมและเขตคันนายาว · ธันวาคมและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประเสริฐมนูกิจ

นนประเสริฐมนูกิจ หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 351 สายมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์–คันนายาว หรือที่นิยมเรียกกันว่า ถนนเกษตร-นวมินทร์ เป็นเส้นทางจราจรระหว่างท้องที่เขตจตุจักร เขตลาดพร้าว เขตบึงกุ่ม และเขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 11.656 กิโลเมตร เริ่มจากบริเวณถนนงามวงศ์วานตัดกับถนนพหลโยธินที่สี่แยกเกษตร เขตจตุจักร เป็นถนนขนาด 8 ช่องทางจราจร มุ่งไปทางทิศตะวันออกในพื้นที่แขวงเสนานิคม ข้ามคลองบางบัวเข้าสู่พื้นที่เขตลาดพร้าวในแขวงจรเข้บัว ตัดกับถนนลาดปลาเค้า จากนั้นมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าสู่แขวงลาดพร้าว ตัดกับถนนสุคนธสวัสดิ์และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าสู่พื้นที่แขวงนวมินทร์ เขตบึงกุ่ม ข้ามคลองลำเจียก ตัดกับถนนรัชดา-รามอินทรา ซ้อนกับแนวปากทางถนนนวลจันทร์และข้ามคลองบางขวดก่อนตัดกับถนนนวมินทร์ เข้าพื้นที่แขวงคลองกุ่ม ตรงไปทางทิศเดิม วกขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบวบขม ข้ามคลองลำปลาดุกเข้าสู่พื้นที่แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว และข้ามคลองครุก่อนไปสิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (ถนนคู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน) ซึ่งในอนาคตอาจมีการก่อสร้างเป็นทางแยกต่างระดับด้ว.

ถนนประเสริฐมนูกิจและเขตคันนายาว · ถนนประเสริฐมนูกิจและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนนวมินทร์

นนนวมินทร์ (Thanon Nawamin) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เดิมชื่อว่า ถนนสุขาภิบาล 1 มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่สี่แยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนลาดพร้าว ถนนเสรีไทย และถนนพ่วงศิริ ในแขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ มีทิศทางมุ่งขึ้นไปทางทิศเหนือ ผ่านพื้นที่เขตบึงกุ่ม ไปสิ้นสุดที่แยกตัดกับถนนรามอินทรา (บริเวณกิโลเมตรที่ 8) ในเขตคันนายาว เดิมถนนนวมินทร์ได้รับการกำหนดให้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3202 ในความดูแลของกรมทางหลวง ต่อมากรมทางหลวงได้โอนให้สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร เป็นผู้ดูแลตลอดระยะทาง.

ถนนนวมินทร์และเขตคันนายาว · ถนนนวมินทร์และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเสรีไทย

นนเสรีไทย (Thanon Seri Thai) เริ่มตั้งแต่เขตบางกะปิ ผ่านเขตบึงกุ่ม เขตคันนายาว ไปสิ้นสุดที่เขตมีนบุรี ในกรุงเทพมหานคร เดิมอยู่ในความดูแลของแขวงการทางกรุงเทพ กรมทางหลวง และได้รับการกำหนดเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3278 ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ถนนสายนี้มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกบางกะปิ ปลายถนนลาดพร้าวในเขตบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยมีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนศรีบูรพาที่แยกนิด้า ผ่านเขตบึงกุ่ม ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก (ด้านตะวันออก) ถนนสวนสยาม และตัดกับถนนมีนพัฒนาที่แยกบางชัน ไปสิ้นสุดที่แยกเมืองมีน ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์ และถนนสีหบุรานุกิจในเขตมีนบุรี.

ถนนเสรีไทยและเขตคันนายาว · ถนนเสรีไทยและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304และเขตคันนายาว · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 สายรัชดาภิเษก–รามอินทรา เป็นเส้นทางการจราจรในเขตกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นโครงการจากถนนรัชดาภิเษก ใกล้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมในท้องที่แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร ไปตัดกับถนนโชคชัย 4 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ถนนประเสริฐมนูกิจ ถนนนวมินทร์ ถนนกาญจนาภิเษก และไปสิ้นสุดที่ถนนรามอินทราในท้องที่แขวงคันนายาว เขตคันนายาว (แต่ในปัจจุบันได้ก่อสร้างเพียงช่วงถนนประเสริฐมนูกิจถึงถนนรามอินทราเท่านั้น) โดยก่อสร้างตั้งแต่ปี..

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350และเขตคันนายาว · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350และเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

คลองแสนแสบ

รือด่วนในคลองแสนแสบ คลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกงเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ. 2380 ด้วยพระราชประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งอาวุธยุทธภัณฑ์ กำลังรบ และเสบียงอาหารไปยังญวน (เวียดนาม) ในราชการสงครามไทย-ญวน ซึ่งใช้เวลารบนานถึง 14 ปี ใน คือ อานามสยามยุทธ คลองแสนแสบเป็นเส้นทางโดยสารที่นิยมเป็นอย่างมากเพราะสะดวกและรวดเร็ว แต่ในปัจจุบันนั้นมีปัญหามลภาวะทางน้ำ ส่งกลิ่นเหม็นเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีการทำลายสิ่งแวดล้อมโดยการทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ทำให้คลองแสนแสบนั้นมีสภาพที่สกปรกไม่น่ามอง.

คลองแสนแสบและเขตคันนายาว · คลองแสนแสบและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

เขตคันนายาวและแขวง · เขตบึงกุ่มและแขวง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

อนุสาวรีย์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (13 มกราคม พ.ศ. 2318 - 24 มิถุนายน พ.ศ. 2392) อัครมหาเสนาบดีสมุหนายก และแม่ทัพใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 "เจ้าพระยาบดินทรเดชา" เป็นราชทินนามพิเศษ ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานราชทินนามนี้มีแต่ท่านเพียงผู้เดียวเท่านั้น.

เขตคันนายาวและเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) · เขตบึงกุ่มและเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

เขตคันนายาวและเขตบางกะปิ · เขตบางกะปิและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

เขตคันนายาวและเขตบางเขน · เขตบางเขนและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

เขตลาดพร้าว

ตลาดพร้าว เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ).

เขตคันนายาวและเขตลาดพร้าว · เขตบึงกุ่มและเขตลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

เขตสะพานสูง

ตสะพานสูง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

เขตคันนายาวและเขตสะพานสูง · เขตบึงกุ่มและเขตสะพานสูง · ดูเพิ่มเติม »

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

20 กรกฎาคมและเขตคันนายาว · 20 กรกฎาคมและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

21 กันยายนและเขตคันนายาว · 21 กันยายนและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

4 กันยายนและเขตคันนายาว · 4 กันยายนและเขตบึงกุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เขตคันนายาวและเขตบึงกุ่ม

เขตคันนายาว มี 49 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขตบึงกุ่ม มี 44 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 34, ดัชนี Jaccard คือ 36.56% = 34 / (49 + 44)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เขตคันนายาวและเขตบึงกุ่ม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »