เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายูและโจโฮร์บะฮ์รู

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายูและโจโฮร์บะฮ์รู

เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู vs. โจโฮร์บะฮ์รู

รถไฟระหว่างเมืองขบวนหนึ่งของเคทีเอ็ม เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู (เคทีเอ็ม) (Keretapi Tanah Melayu, كريتاڤي تانه ملايو برحد) หรือ การรถไฟมลายา เป็นผู้ดำเนินการรถไฟในมาเลเซียตะวันตก เริ่มสร้างในสมัยอาณานิคมอังกฤษ ชื่อเดิมคือ การรถไฟสหพันธรัฐมลายู (FMSR) และองค์การบริหารรถไฟมลายา (MRA) และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู" ในปี.. ร์บะฮ์รู (Johor Bahru, บ้างสะกดว่า Johor Baharu, Johor Baru, Johore Bahru; อักษรยาวี: جوهر بهرو) มีชื่อเดิมว่า ตันจุงปูเตอรี (Tanjung Puteri) และ อิซกันดาร์ปูเตอรี, Teo Li Meng, 15 August 2010, 东南亚华文资料中心, retrieved 11 December 2012 (Iskandar Puteri) และเป็นที่รู้จักในชื่อย่อว่า เจบี. (JB.) เป็นเมืองหลวงของรัฐยะโฮร์ ทั้งเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางใต้สุดของคาบสมุทรมลายูและใต้สุดของแผ่นดินยูเรเชีย โจโฮร์บะฮ์รูมีประชากราว 1.4 ล้านคน และอาจมีมากกว่าสองล้านคนหากนับรวมกับปริมณฑล ถือว่ามากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากกัวลาลัมเปอร์ และภูมิภาคหุบเขากลัง ทั้งนี้ประชากรของสิงคโปร์และโจโฮร์บะฮ์รูขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็น 7 ล้านคน สืบเนื่องจากการเติบโตของสามเหลี่ยมเศรษฐกิจซีโจรี (SIJORI Growth Triangle) ทั้งนี้โจโฮร์บะฮ์รูเองก็เป็นเมืองสำคัญทางอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดทางใต้ของมาเลเซี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายูและโจโฮร์บะฮ์รู

เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายูและโจโฮร์บะฮ์รู มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กัวลาลัมเปอร์มาเลเซียตะวันตกประเทศมาเลเซีย

กัวลาลัมเปอร์

กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, อักษรยาวี: كوالا لومڤور, ออกเสียงตามภาษามลายูว่า กัวลาลุมปูร์) เป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศด้วย ภายในมาเลเซียเอง กัวลาลัมเปอร์มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า KL กัวลาลัมเปอร์เป็นหนึ่งในสามดินแดนสหพันธ์ของมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ล้อมรอบด้วยรัฐเซอลาโงร์บนชายฝั่งตะวันตกตอนกลางของคาบสมุทรมลายู ฝ่ายบริหารของรัฐบาลมาเลเซียได้ย้ายไปที่เมืองใหม่คือ ปูตราจายา อย่างไรก็ดี พระราชฐานของกษัตริย์ของมาเลเซีย รัฐสภามาเลเซีย และฝ่ายนิติบัญญัติยังคงอยู่ที่กัวลาลัมเปอร.

กัวลาลัมเปอร์และเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู · กัวลาลัมเปอร์และโจโฮร์บะฮ์รู · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียตะวันตก

มาเลเซียตะวันตก (Semenanjung Malaysia) เป็นภูมิภาคหนึ่งของมาเลเซีย ซึ่งตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายูโดยมีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยทางเหนือ และติดต่อกับสิงคโปร์ทางใต้โดยมีช่องแคบยะโฮร์กั้นอยู่ ทางตะวันตกจรดกับช่องแคบมะละกาและทางตะวันออกจรดกับทะเลจีนใต้ มาเลเซียตะวันตกยังเป็นดินแดนส่วนแรกที่รวมตัวกันเป็นสหภาพมาลายา ก่อนที่มาเลเซียตะวันออกและสิงคโปร์จะเข้าร่วมและกลายเป็นสหพันธรัฐมาลายาในเวลาต่อมา (และภายหลังสิงคโปร์ก็แยกดินแดนออกไปตั้งรัฐของตนเอง).

มาเลเซียตะวันตกและเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู · มาเลเซียตะวันตกและโจโฮร์บะฮ์รู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ประเทศมาเลเซียและเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู · ประเทศมาเลเซียและโจโฮร์บะฮ์รู · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายูและโจโฮร์บะฮ์รู

เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู มี 48 ความสัมพันธ์ขณะที่ โจโฮร์บะฮ์รู มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 5.26% = 3 / (48 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายูและโจโฮร์บะฮ์รู หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: