ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสและโอไซริส
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสและโอไซริส
ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิส vs. โอไซริส
มุทรไอบีเรียในรัชสมัยจักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงที่ตั้งจังหวัดฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิส ทางตอนกลาง ตอนเหนือ และชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรไอบีเรีย ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิส หรือ ฮิสปาเนียตาร์ราโกเนนซิส (อังกฤษ, Hispania Tarraconensis) เป็นหนึ่งในจังหวัดสามแห่งในฮิสเปเนีย (คาบสมุทรไอบีเรียปัจจุบัน) ของจักรวรรดิโรมัน มีอาณาเขตครอบคลุมชายฝั่งเมดิเตอร์เรเนียนส่วนใหญ่ ที่ราบสูงตอนกลางและตอนเหนือของประเทศสเปน ไปจนถึงแคว้นกาลิเซียและตอนเหนือของโปรตุเกสในปัจจุบัน ทางด้านใต้มีเขตแดนติดต่อกับจังหวัดฮิสเปเนียเบทิกา (ซึ่งก็คือบริเวณแคว้นอันดาลูซีอาในปัจจุบัน) ส่วนทางด้านตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติกและจังหวัดลูซิเทเนีย ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสเป็นจังหวัดที่ตั้งขึ้นแทนจังหวัดเนียเรอร์ฮิสเปเนีย (Nearer Hispania) ซึ่งเคยมีกงสุลภายใต้ระบบสาธารณรัฐปกครองอยู่ ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสรุ่งเรืองมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 5. อไซริส (Osiris; Ὄσιρις) เป็นเทพอียิปต์ซึ่งมักได้รับการระบุว่า เป็นเทพแห่งชีวิตหลังความตาย เทพแห่งนรก และเทพแห่งวิญญาณ เดิมทีเชื่อกันว่า เป็นบุรุษเพศ มีกายสีเขียว มีมัสสุดังฟาโรห์ กายเบื้องล่างพันผ้าห่อศพไว้ ฉลองมงกุฏประดับขนนกกระจอกเทศสองข้าง หัตถ์ทั้งสองถือตะขอกับไม้หวดข้าว ถือกันมาระยะหนึ่งว่า โอไซริสเป็นโอรสของเก็บ (Geb) เทพผืนดิน กับนัต (Nut) เทพีท้องฟ้า ทั้งเป็นเชษฐภาดาและภัสดาของไอซิส (Isis) มีโอรสด้วยกันหนึ่งองค์เมื่อสิ้นชนม์ไปแล้ว คือ ฮอรัส (Horus) โอไซริสยังเกี่ยวเนื่องกับสมญาที่ว่า "เค็นที-อาเมนทีอู" (Khenti-Amentiu) แปลว่า ที่สุดแห่งชาวตะวันตก ซึ่งหมายถึง การได้ปกครองนรกภูมิ โอไซริสในฐานะมัจจุราชนั้นบางทีได้รับการเรียกขานว่า "เจ้าชีวิต" (king of the living) เพราะชาวอียิปต์โบราณถือว่า วิญญาณที่ได้รับเซ่นสรวงบูชานั้นเป็น "สิ่งมีชีวิต" (living one) โอไซริสปรากฏเป็นครั้งแรกในช่วงกลางราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์ แต่น่าเชื่อว่า ได้รับการเคารพบูชามาก่อนหน้านั้นแล้ว นอกจากนี้ สมญา "เค็นที-อาเมนทีอู" ยังปรากฏย้อนหลังไปถึงราชวงศ์ที่หนึ่งโดยเป็นสมัญญาสำหรับพระมหากษัตริย์ด้วย เรื่องราวเกี่ยวกับโอไซริสนั้นส่วนใหญ่ได้มาจากการกล่าวถึงในตำราพีระมิด (Pyramid Texts) ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อปลายราชวงศ์ที่ห้า ตลอดจนเอกสารในชั้นหลัง ๆ เช่น ศิลาชาบากา (Shabaka Stone) และคัมภีร์เรื่อง การชิงชัยระหว่างฮอรัสกับเซท (Contending of Horus and Seth) รวมถึงการพรรณนาในงานเขียนของปรัชญาเมธีกรีกหลายคน เช่น พลูตาร์ก (Plutarch) และดีโอโอรัส ซีกูลัส (Diodorus Siculus) ในนรกภูมิ ถือว่า โอไซริสเป็นตุลาการผู้เปี่ยมเมตตา ทั้งยังทำหน้าที่แทนนรกในการบันดาลให้เกิดสรรพชีวิต รวมถึง การแตกหน่อก่อผลของพืชผัก และการสร้างน้ำท่วมเพื่อความอุดมสมบูรณ์ริมฝั่งไนล์ นอกจากนี้ โอไซริสยังได้ชื่อว่าเป็น "กามเทพ" "พระผู้ปราศศัตรูและทรงเยาว์วัยตลอดกาล"The Oxford Guide: Essential Guide to Egyptian Mythology, Edited by Donald B. Redford, p302-307, Berkley, 2003, ISBN 0-425-19096-X และ "เจ้าแห่งความสงัด" พระเจ้าแผ่นดินอียิปต์จะทรงเป็นส่วนหนึ่งของโอไซริสเมื่อสิ้นพระชนม์แล้ว เชื่อกันว่า เมื่อสิ้นพระชนม์ โอไซริสจะสถิตอยู่ในพระวิญญาณ และพระวิญญาณที่มีโอไซริสเป็นส่วนหนึ่งนี้จะดำรงอยู่ชั่วกัลปาวสานหลังผ่านพิธีกรรมทางไสยเวทบางประการ ครั้นถึงช่วงอาณาจักรใหม่ ความเชื่อเปลี่ยนไปว่า ใช่แต่พระเจ้าแผ่นดินเท่านั้นที่จะเข้ารวมกับโอไซริสในโลกหลังความตาย บุคคลธรรมดาสามัญทั้งหลายก็ด้วย แต่ต้องผ่านพิธีกรรมทำนองเดียวกัน ไอโซริสได้รับการนับถือเป็นมัจจุราชมาจนศาสนาอียิปต์โบราณระงับไปในช่วงคริสตกาล.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสและโอไซริส
ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสและโอไซริส มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสและโอไซริส มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสและโอไซริส
การเปรียบเทียบระหว่าง ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสและโอไซริส
ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิส มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ โอไซริส มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (16 + 9)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิสและโอไซริส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: