โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตอสกาและอุปรากร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ตอสกาและอุปรากร

ตอสกา vs. อุปรากร

ตอสกา (Tosca) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีจำนวน 3 องก์ ประพันธ์ขึ้นโดยจาโกโม ปุชชีนี คำร้องโดยลุยจิ อิลลิกา (1857 – 1919) และจุยเซปเป จิอาโคซา (1847-1906) อุปรากรเรื่องนี้ดัดแปลงจากละครประโลมโลกเรื่อง La Tosca ของวิกตอเรียน ซาโด มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ในช่วงเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1800 ในระหว่างสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส (ค.ศ. 1792 - 1802) ซึ่งช่าวโรมถูกคุกคามจากการรุกรานของจักรพรรดินโปเลียน โดยเนื้อเรื่องจะแสดงออกถึงเรื่องราวการกดขี่ข่มเหง ปมฆาตกรรม และภาวะไม่สงบทางการเมือง การแสดงรอบปฐมทัศน์มีขึ้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1900 ที่โรงอุปรากร Teatro Costanzi กรุงโรม ในช่วงปี 1889 ระหว่างที่ปุชชืนีออกเดินสายแสดงผลงานอยู่ที่อิตาลีก็มีโอกาสได้อ่านบทละครของซาโด และได้รับโอกาสดัดแปลงเนื้อเรื่องไปเป็นอุปรากรในปี 1895 ปุชชีนีใช้เวลากว่า 4 ปีเพื่อถ่ายทอดคำร้องต่าง ๆ จากภาษาฝรั่งเศสไปสู่ภาษาอิตาลีโดยได้รับแรงกดดันและการวิจารณ์มากมาย อีกทั้งการแสดงรอบปฐมทัศน์ก็ล่าช้าออกไปเพราะเนื่องจากภาวะบ้านเมืองไม่สงบ ระยะแรกของการออกแสดงนั้นไม่ได้รับคำชื่นชมจากนักวิจารณ์ ภายหลังกลับประสบความสำเร็จจากการบอกต่อของผู้ชม จนถึงปัจจุบัน อุปรากรเรื่องตอสกาได้กลายเป็นอุปรากรยอดนิยมที่สุดเรื่องหนึ่งของโลก. รงอุปรากรซิดนีย์ในประเทศออสเตรเลีย เป็นโรงอุปรากรที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อุปรากร (opera) เป็นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตอสกาและอุปรากร

ตอสกาและอุปรากร มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อัลโตจาโกโม ปุชชีนีโซปราโนเทเนอร์

อัลโต

อัลโต (Alto) มาจากรากศัพท์ภาษาละตินว่า Altus แปลว่า "เสียงสูง" มีความหมายหลายแบบ สำหรับเครื่องดนตรี อัลโต มักหมายถึงเสียงเครื่องดนตรีที่มีเสียงสูงสุดเป็นอันดับสอง รองจากทรีเบิล (treble) หรือ โซปราโน เช่น อัลโตแซกโซโฟน มีเสียงสูงรองจากโซปราโนแซกโซโฟน และเสียงสูงกว่าเทเนอร์แซกโซโฟน ในวงขับร้องประสานเสียงแบบสี่แนว SATB เสียงอัลโต ถือเป็นโทนเสียงสูงเป็นที่สองจากสี่ระดับ (ประกอบด้วย โซปราโน, (คอนทรา)อัลโต, เทเนอร์ และเบส) โดยโทนเสียงต่ำสุดของนักร้องหญิง บางครั้งเรียกว่า คอนทราลโต (contralto) มาจากการประสมคำว่า contra และ alto แต่หากเป็นวงขับร้องประสานเสียงแบบหญิงล้วน ซึ่งมักนิยมร้องแบบสองแนว SA หรือสามแนว SSA เสียงอัลโตจะเป็นเสียงนักร้องหญิงที่โทนเสียงต่ำที่สุดในวง หมวดหมู่:การร้องเพลง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี.

ตอสกาและอัลโต · อัลโตและอุปรากร · ดูเพิ่มเติม »

จาโกโม ปุชชีนี

กโม ปุชชีนี จาโกโม อันโตนีโอ โดเมนีโก มีเกเล เซกอนโด มารีอา ปุชชีนี (Giacomo Puccini 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467) เป็นคีตกวีชาวอิตาเลียน เกิดที่เมืองลูคคา ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 (ค.ศ. 1858) เขาเป็นที่รู้จักในนามของ ปุชชินี และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในคีตกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อุปรากรที่โด่งดังของเขาได้แก่เรื่อง มาดามบัตเตอร์ฟลาย และ ทอสก้า ปุชชินีเสียชีวิตที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924).

จาโกโม ปุชชีนีและตอสกา · จาโกโม ปุชชีนีและอุปรากร · ดูเพิ่มเติม »

โซปราโน

ซปราโน (Soprano) คือ โทนเสียงในการร้องเพลงประสานเสียง ซึ่งเป็นโทนเสียงที่สูงของนักร้องหญิง และเป็นโทนเสียงที่สูงที่สุดในวงขับร้องประสานเสียงอีกด้วย ประเภทของเสียงโซปราโน.

ตอสกาและโซปราโน · อุปรากรและโซปราโน · ดูเพิ่มเติม »

เทเนอร์

เทเนอร์ (Tenor) คือ โทนเสียงในการร้องเพลงประสานเสียง ซึ่งเป็นโทนเสียงสูงของนักร้องชาย หมวดหมู่:การร้องเพลง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี.

ตอสกาและเทเนอร์ · อุปรากรและเทเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ตอสกาและอุปรากร

ตอสกา มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ อุปรากร มี 36 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 8.16% = 4 / (13 + 36)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตอสกาและอุปรากร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »