โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อุปนิษัทและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อุปนิษัทและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ

อุปนิษัท vs. เอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ

อุปนิษัท (เทวนาครี: उपनिषद्, IAST: upaniṣad) เป็นคัมภีร์ของศาสนาฮินดู เนื้อหาเป็นหลักธรรม หรือคำสอนอันลึกซึ้ง นับเป็นส่วนสุดท้ายของวรรณกรรมพระเวท (วรรณกรรมพระเวทส่วนอื่นได้แก่ สังหิตา, พราหมณะ, อารัณยกะ) และเนื่องจากเป็นส่วนสุดท้ายของวรรณกรรมพระเวท จึงอีกอย่างหนึ่งว่า "เวทานฺต" (เวทานตะ) คำว่า "อุปนิษัท" มาจากรากศัพท์ คำอุปสรรค 'อุป' 'นิ' และธาตุ 'สัท' (นั่ง) ซึ่งหมายถึง นั่งใกล้คนใดคนหนึ่ง อันได้แก่ การนั่งของศิษย์ใกล้ครูอาจารย์ เพื่อสอนหลักธรรมอันลึกซึ้ง คัมภีร์อุปนิษัทนั้นมีอยู่เป็นจำนวนมาก และอยู่ในช่วงเวลาที่กว้าง บางเล่มอยู่ในสมัยก่อนพุทธกาล บางเล่มมีอายุอยู่หลังพุทธกาล. อภยะ จรณารวินทะ บัคธิเวดันธะ สวะมิ พระบุพาดะ (เบงกาลี:অভয চরণারবিন্দ ভক্তিবেদান্ত স্বামীপ্রভুপাদ, สันสกฤต:अभय चरणारविन्द भक्तिवेदान्त स्वामी प्रभुपादः,อภย จรณาวินท บัคธิเวดันทะ สวะมิ พระบุพาดะ) (1 กันยายน ค.ศ. 1896 - 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1977) เป็นผู้ก่อตั้ง สมาคมนานาชาติเพื่อคริชณะจิตสำนึก (ฮะเร คริชณะ) หรือ ISKCON และนำวัฒนธรรมทางจิตวิญญาณของชาวอินเดียเผยแพร่ไปในวัฒนธรรมตะวันตก และก่อตั้งสมาคม ISKCON ขึ้นที่ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยก่อนหน้านี้ ท่านได้จบการศึกษามาจาก วิทยาลัยสก๊อตครูสต์ และได้แต่งงานกับเด็กหญิงคนหนึ่ง และเปิดร้านขายยาเล็กๆ แต่ในปี ค.ศ. 1959 ท่านได้สละชีวิตทางโลก และบวชเป็นนักบวชในลัทธิ ไวษณพนิกาย และออกเผยแพร่คำสอนของ พระคริชณะ และคัมภีร์พระเวท ภควัต-คีตา โดยได้เดินทางไปที่ นิวยอร์ก และเผยแพร่คำสอน และก่อตั้ง สมาคมนานาชาติคริชณะเพื่อจิตสำนึกขึ้น ท่านได้เริ่มต้นวัฒนธรรมศาสนาผ่านทางวัยรุ่นชาวตะวันตกนับพันในยุคนั้น แม้มีกลุ่มต่อต้านท่าน แต่ท่านก็ยังได้รับการต้อนรับอย่างดีเมื่อมาที่สหรัฐอเมริกา ท่านเป็นผู้นำที่มีความสามารถในการเผยแพร่ มีผู้นับถือ และเป็นศิษย์มากมายทั้งในอเมริกา, ยุโรป, อินเดีย และที่อื่นๆ หลังจากการมรณภาพของท่าน ISKCON ได้เติบโตและเป็นที่ยอมรับในอินเดีย และทั่วโลกจนปัจจุบัน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อุปนิษัทและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ

อุปนิษัทและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภควัทคีตา

ภควัทคีตา

หนังสือภควัทคีตาฉบับภาษาสันสกฤต คัดลอกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระกฤษณะสำแดงร่างเป็นพระนารายณ์ ขณะสอนอนุศาสน์ภควัทคีตาแก่อรชุน ภควัทคีตา (สันสกฤต: भगवद्गीता, อ่านว่า "พะ-คะ-วัด-คี-ตา") เป็นชื่อคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาฮินดู โดยเฉพาะสำหรับนิกายไวษณพหรือผู้ที่ยกย่องพระวิษณุ (พระนารายณ์) เป็นพระเจ้าสูงสุด ชื่อคัมภีร์ ภควัทคีตา (ภควตฺ + คีตา) แปลว่า "บทเพลง (หรือลำนำ) แห่งพระผู้เป็นเจ้า" นำเรื่องราวส่วนหนึ่งมาจากมหากาพย์มหาภารตะ ประกอบด้วยบทกวี 700 บท.

ภควัทคีตาและอุปนิษัท · ภควัทคีตาและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อุปนิษัทและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ

อุปนิษัท มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.70% = 1 / (11 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อุปนิษัทและเอ. ซี. ภักติเวทานตะ สวามี ปรภุปาทะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »