โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อี อีและเม่งจื๊อ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อี อีและเม่งจื๊อ

อี อี vs. เม่งจื๊อ

องอี อี บนธนบัตร 5,000 วอนของเกาหลีใต้ อี อี (ค.ศ. 1536 - ค.ศ. 1584) นามปากกาว่า ยุลกก (Yulgok) ซึ่งแปลว่า "หุบเขาแห่งลูกเกาลัด" เขาเป็นนักปราชญ์ลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo-Confucianism) คนสำคัญของเกาหลีในสมัยราชวงศ์โชซ็อน ทั้งเป็นนักการเมืองที่เคารพนับถือ at Doosan Encyclopedia แนวคิดและผลงานของอี อี นั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการนักปราชญ์ลัทธิขงจื๊อใหม่ รวมถึงระบบราชการและแนวคิดทางการเมืองของอาณาจักรโชซอนนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่สิบหกเป็นต้นมา อี อี เป็นสานุศิษย์คนสำคัญคนหนึ่งของบัณฑิตโจ กวังโจ และยังเป็นนักปราชญ์ร่วมสมัยกันกับอี ฮวัง นักปราชญ์ลัทธิขงจื๊อใหม่คนสำคัญอีกท่านของราชวงศ์โชซอน ซึ่งอาวุโสกว่าอีกด้ว. ม่งจื๊อ เม่งจื๊อ หรือในทางตะวันตกรู้จักในชื่อ เมนเชียส (Mencius) ปีเกิดที่ได้รับการยอมรับที่สุดคือประมาณ 372 - 289 ก่อนคริสตกาล หรืออาจราว 385 - 303/302 ก่อนคริสตกาล) เป็นนักปรัชญาชาวจีน เป็นคนเมืองจูทางตอนใต้ของมณฑลชานตง เม่งจื๊อได้รับถ่ายทอดแนวความคิดของขงจื๊อมาจากหลานชายของขงจื๊อเอง จึงถือว่าเป็นลูกศิษย์ของขงจื๊อคนหนึ่ง เม่งจื๊อชอบเดินทางออกสั่งสอนหลักความคิดของเขาและก่อนที่เขาจะลาออกจากราชการ เขาแต่งหนังสือขึ้นรวม 7 เล่ม เป็นบันทึกคำสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเขา มีการรวมรวบเข้าเป็น 4 เล่มใหญ่ และได้กลายเป็นรากฐานการศึกษาหลักปรัชญาของเม่งจื๊อในเวลาต่อมา แนวคิดของเม่งจื๊อ กล่าวว่า "โดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์ทุกคนมีพื้นฐานเป็นคนดีมาแต่กำเนิด แต่สิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีต่าง ๆ ทำให้คนเราเปลี่ยนแปลงไป" เม่งจื๊อเชื่อว่า ความดีทั้งหมดสามารถต่อเติมให้กับมนุษย์ได้ด้วยการศึกษาศิลปะวิทยาการต่าง ๆ การศึกษาสามารถช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ไม่ได้เกิดจากประชาชนเป็นผู้กระทำ แต่เกิดจากบรรดาผู้ปกครองที่ไม่มีการศึกษา ฉะนั้นผู้ปกครองควรเป็นนักปรัชญาหรือไม่ก็ควรให้นักปรัชญามาเป็นปกครอง ในกรณีที่นักปกครองไม่มีคุณสมบัติเช่นนั้น ในข้อนี้เขาเน้นว่าชนชั้นบริหารรัฐบาลควรเป็นผู้ที่มีการศึกษา ผู้มีการศึกษาจะสามารถเข้าใจถึงความต้องการของประชาชนได้ดีกว่าQuale, G.Robina: Eastern Civilization (Prentice Hall, Inc., Englewood Cliffs, New Jersey, 1975) P. 383 แนวคิดในส่วนนี้ของเม่งจื๊อตรงกันข้ามกับศิษย์ของขงจื๊ออีกคน คือ ซุนจื๊อ โดยสิ้นเชิง ซุนจื๊อเห็นว่ามนุษย์มีธรรมชาติที่ชั่วร้ายเป็นพื้นฐาน เพื่อที่จะขจัดความชั่วร้ายนั้น ต้องมีการควบคุมและอบรมสั่งสอนให้ยึดมั่นคุณธรรมอย่างจริงจัง นอกจากนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับชนชั้นในสังคม เม่งจื๊อสนับสนุนให้มีชนชั้น คือ ผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง เม่งจื๊อกล่าวว่า "ทั้ง 2 ชนชั้น มีหน้าที่ที่จะต้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน ถ้าขาดผู้หนึ่งผู้ใดไป สังคมก็จะไม่สมบูรณ์".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อี อีและเม่งจื๊อ

อี อีและเม่งจื๊อ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ลัทธิขงจื๊อปรัชญา

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ลัทธิขงจื๊อและอี อี · ลัทธิขงจื๊อและเม่งจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ปรัชญาและอี อี · ปรัชญาและเม่งจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อี อีและเม่งจื๊อ

อี อี มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ เม่งจื๊อ มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 8.33% = 2 / (17 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อี อีและเม่งจื๊อ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »