โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อินเทลและเพนเทียม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อินเทลและเพนเทียม

อินเทล vs. เพนเทียม

ำนักงานใหญ่อินเทล ที่ซานตาคลารา อินเทล (Intel) เป็นบริษัทผลิตชิพสารกึ่งตัวนำที่ใหญ่ที่สุดในโลกเมื่อวัดจากรายได้ บริษัทอินเทลเป็นผู้คิดค้นไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูลx86 ออกมาวางจำหน่าย ซึ่งเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ที่ใช้กันมากที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อินเทลก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1968 ในชื่อ Integrated Electronics Corporation โดยมีสำนักงานอยู่ที่ซานตาคลารา รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อินเทลยังเป็นผู้ผลิตชิพเซตของเมนบอร์ด, เน็ตเวิร์คการ์ดและแผงวงจรรวม, แฟลชเมโมรี, ชิพกราฟิค, โปรเซสเซอร์ของระบบฝังตัว ตลอดจนอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร อินเทลก่อตั้งขึ้นโดย กอร์ดอน มัวร์ (Gordon Moore) และโรเบิร์ต นอยซ์ (Robert Noyce) ผู้เชี่ยวชาญด้านสารกึ่งตัวนำ โดยเป็นอดีตพนักงานของ Fairchild Semiconductor พนักงานยุคแรกเริ่มที่สำคัญอีกคนของอินเทลคือ แอนดรูว์ โกรฟ ซึ่งในภายหลังเป็นผู้บริหารคนสำคัญ ที่ทำให้อินเทลก้าวขึ้นมาเป็นบริษัทระดับโลกในปัจจุบัน แต่เดิมนั้น ชื่อของอินเทลจะเป็นที่รู้จักเฉพาะในหมู่วิศวกรและนักเทคโนโลยีเท่านั้น แต่หลังจากที่โฆษณา อินเทล อินไซด์ ประสบผลสำเร็จอย่างกว้างขวางในช่วงทศวรรษ 1990 ชื่อของอินเทลก็กลายเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปในทันที โดยมีผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่รู้จักคือ หน่วยประมวลผลกลางตระกูลเพนเทียม (Pentium). นเทียม (Pentium) เป็นเครื่องหมายการค้าและแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ไมโครโพรเซสเซอร์ x86 หลายตัวจากบริษัทอินเทล เพนเทียมเปิดตัวครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยใช้สถาปัตยกรรม P5 และมีการพัฒนาต่อเนื่องโดยชิปตัวใหม่ที่ออกมาจะใช้ชื่อรหัสตามหลังคำว่าเพนเทียมเช่น เพนเทียมโปร หรือ เพนเทียมดูอัล-คอร์ จนกระทั่งในปี 2553 ทางอินเทลได้เปลี่ยนระบบการเรียกชื่อชิปในตระกูลเพนเทียมทั้งใหม่หมดให้ใช้เพียงแค่คำว่า "เพนเทียม" โดยไม่มีคำใดต่อท้าย แม้ว่าเพนเทียมถูกออกแบบมาให้เป็นรุ่นที่ 5 ที่ใช้สถาปัตยกรรม P5 ชิปที่พัฒนาต่อมาได้มีการนำสถาปัตยกรรมตัวใหม่ที่นำมาพัฒนามาใช้ภายใต้ชื่อตระกูลเพนเทียม เช่น P6, เน็ตเบิรสต์, คอร์, เนเฮเลม และล่าสุดคือสถาปัตยกรรมแซนดีบริดจ์ ในปี 2541 เพนเทียมได้ถูกจัดให้เป็นซีพียูสำหรับตลาดบนของทางอินเทลเมื่อบริษัทได้เปิดตัวแบรนด์เซเลรอน เพื่อใช้สำหรับคอมพิวเตอร์ราคาประหยัด ที่ประสิทธิภาพลดลงมา จนกระทั่งในปี 2549 อินเทลได้เปิดตัวตระกูลคอร์ โดยออกมาในชื่อ อินเทล คอร์ 2 ทำให้สถานะทางการตลาดของเพนเทียมอยู่ในระดับกลาง รองจากตระกูลคอร์แต่อยู่สูงกว่าตระกูลเซเลรอน โดยในปัจจุบันชื่อเพนเทียมเป็นชิปที่อยู่ในราคากลางโดยอยู่ระหว่างอินเทลคอร์และอินเทลเซเลรอน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อินเทลและเพนเทียม

อินเทลและเพนเทียม มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อินเทล คอร์อินเทล คอร์ 2อินเทล P5ไมโครโพรเซสเซอร์เพนเทียมดูอัล-คอร์เพนเทียมโปรเอกซ์86เซเลรอน

อินเทล คอร์

อินเทล คอร์ (Intel Core) เป็นชื่อแบรนด์ของซีพียู สถาปัตยกรรมประมวลผล แบบ x86 ของบริษัทอินเทล.

อินเทลและอินเทล คอร์ · อินเทล คอร์และเพนเทียม · ดูเพิ่มเติม »

อินเทล คอร์ 2

อร์ 2 (Core 2 - /คอร์ทู/) เป็นแบรนด์ของทางอินเทลสำหรับไมโครโพรเซสเซอร์ x86 และ x86-64 ที่ทำงานบนสถาปัตยกรรมไมโครคอร์ ที่มีการทำงาน 1, 2 หรือ 4 คอร์ร่วมกัน สถาปัตยกรรมคอร์นั้นได้ลดอัตรานาฬิกาและลดการใช้พลังงานลงโดยเพิ่มประสิทธิภาพมากขึ้นซึ่งแตกต่างจากสถาปัตยกรรมเน็ตเบิร์สต์รุ่นก่อนหน้าที่ใช้กับเพนเทียม 4 และ เพนเทียม D การตลาดของทางผลิตภัณฑ์คอร์ 2 นั้น อินเทลได้วางเป็นผลิตภัณฑ์ในราคากลางถึงบน โดยได้ลดชั้นของซีพียูภายใต้ชื่อเพนเทียมไปเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับตลาดราคาปานกลางแทนที่ (เพนเทียมดูอัล-คอร์) โดยต่อมาทางอินเทลได้ถอนแบรนด์ของคอร์ 2 ออกและใช้ อินเทล คอร์ แทนที่สำหรับตลาดราคากลางถึงบน ภายใต้ชื่อ คอร์ i3, คอร์ i5 และ คอร์ i7 โดยใช้สถาปัตยกรรมใหม่คือเนเฮเลม.

อินเทลและอินเทล คอร์ 2 · อินเทล คอร์ 2และเพนเทียม · ดูเพิ่มเติม »

อินเทล P5

ปตระกูลเพนเทียม P5 เป็นสถาปัตยกรรมไมโครรุ่นแรกของเพนเทียม เป็นไมโครโพรเซสเซอร์แบบ x86 รุ่นที่ 5 ผลิตโดยบริษัทอินเทล วางจำหน่ายครั้งแรกวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1993 โดยเป็นรุ่นต่อจากไมโครโพรเซสเซอร์รุ่น 80486 เดิมทีอินเทลตั้งชื่อซีพียูรุ่นที่ 5 ว่า "586" (หรือ 80586, i586) ตามซีพียูรุ่นก่อนๆ แต่อินเทลพบปัญหาในด้านกฎหมาย เมื่อไม่สามารถร้องขอต่อศาล ให้จดชื่อทางการค้าที่เป็นตัวเลข (เช่น 486) เพื่อป้องกันคู่แข่งอย่างบริษัทเอเอ็มดีในการตั้งชื่อซีพียูชื่อใกล้เคียงกัน (เช่น Am486) ได้ อินเทลจึงหันมาใช้ชื่อที่สามารถจดเป็นชื่อการค้าแทน สัญลักษณ์ยี่ห้อ "เพนเทียม" ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ส่งผลให้มีเพนเทียมรุ่นถัดๆ มามากมาย ขณะนี้อินเทลได้อยู่ในช่วงเวลาที่จะทดแทนยี่ห้อเพนเทียมด้วยยี่ห้อ อินเทล คอร์ (Intel Core) ซึ่งออกแบบโดยใช้สถาปัตยกรรมที่ชื่อว่า P6 โดยมีลักษณะเด่นที่สามารถประมวลผลได้ดี ในความเร็วรอบ (frequency) ที่ต่ำ และใช้พลังงานไฟที่ต่ำมาก.

อินเทลและอินเทล P5 · อินเทล P5และเพนเทียม · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครโพรเซสเซอร์

อินเทล 4004 ไมโครโพรเซสเซอร์ทั่วไปตัวแรกที่มีการจำหน่าย ไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) หมายถึงชิปที่ใช้เป็นหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร.

อินเทลและไมโครโพรเซสเซอร์ · เพนเทียมและไมโครโพรเซสเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพนเทียมดูอัล-คอร์

นเทียมดูอัล-คอร์ (Pentium Dual-Core) เป็นแบรนด์ซีพียู x86 ของอินเทลในตระกูลเพนเทียม ในช่วงปี..

อินเทลและเพนเทียมดูอัล-คอร์ · เพนเทียมและเพนเทียมดูอัล-คอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพนเทียมโปร

ซีพียูเพนเทียมโปร เพนเทียมโปร (Pentium Pro) เป็นหน่วยประมวลผลภายใต้ชื่อเพนเทียม โดยเป็นซีพียูรุ่นที่ 6 โดยใช้สถาปัตยกรรม P6 ที่ออกแบบมาใช้กับคำสั่งแบบ 32 บิตเท่านั้น ส่วนคำสั่งแบบ 16 บิต สามารถทำงานได้แต่ก็ยังไม่สามารถทำงานได้เร็วเท่ากับคำสั่งแบบ 32 บิต ในขณะที่การพัฒนาทาง อินเทลคาดว่าคำสั่งแบบ 16 บิต จะถูกแทนที่ด้วยคำสั่งแบบ 32 บิต เมื่อหน่วยประมวลผลนี้ออกจำหน่าย แต่เมื่อเพนเทียมโปร ออกจำหน่าย ในท้องตลาดก็ยังมีโปรแกรม 16 บิตอยู่มากมาย ทำให้เพนเทียมโปรไม่เป็นที่นิยมในผู้ใช้ทั่วไป แต่เพนเทียมโปรนิยมใช้กันมากในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เนื่องจากมีหน่วยความจำแคช L2 ที่ทำงานความเร็วเดียวกับหน่วยประมวลผล ทำให้ไม่มีปัญหาคอขว.

อินเทลและเพนเทียมโปร · เพนเทียมและเพนเทียมโปร · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์86

ปเพนเทียม 4 ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรม x86 ในยุคหลัง เอกซ์86 (x86) เป็นชื่อทั่วไปของสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สำหรับไมโครโพรเซสเซอร์ที่สร้างโดยบริษัทอินเทล ปัจจุบันสถาปัตยกรรมแบบ x86 เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป, โน้ตบุ๊คและเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก นับตั้งแต่เริ่มใช้ในไอบีเอ็มพีซี ช่วงทศวรรษที่ 80 ชื่อสถาปัตยกรรมถูกเรียกว่า "x86" เนื่องจากชื่อเรียกของไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกๆ จะลงท้ายด้วยตัวเลข 86 ได้แก่ 8086, 80186, 80286, 386 และ 486 ในภายหลังอินเทลได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อ "เพนเทียม" (Pentium) (ซึ่งเดิมใช้ชื่อว่า "80586") แทนเนื่องจากไม่สามารถจดเครื่องหมายการค้าในชื่อตัวเลขได้ ใน..

อินเทลและเอกซ์86 · เพนเทียมและเอกซ์86 · ดูเพิ่มเติม »

เซเลรอน

ซเลรอน (Celeron) เป็นชื่อแบรนด์ของซีพียู x86 ของทางอินเทล โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลราคาย่อมเยา โพรเซสเซอร์เซเลรอนสามารถทำงานได้เหมือนตัวอื่นทั่วไป แต่ประสิทธิภาพจะต่ำกว่าโดยมักจะมี หน่วยความจำแคชที่น้อยกว่า หรือมีคุณสมบัติที่น้อยกว่า เซเลรอนเปิดตัวเมื่อเดือนเมษายน 2541 ซีพียูภายใต้ชื่อเซเลรอนตัวแรกพัฒนาจาก เพนเทียม II และต่อมาได้พัฒนาบนฐานของ เพนเทียม III, เพนเทียม 4, เพนเทียม M และ คอร์ 2 ดูโอ ตามลำดับ โดยการออกแบบเซเลรอนรุ่นล่าสุด (2552) พัฒนาบนฐานของ คอร์ 2 ดูโอ วูล์ฟเดลสำหรับเดสก์ทอป และ เพนรินสำหรับแล็ปท็อป โดยทำงานลักษณะของคอร์แยกจากกันอิสระ แต่มีแคชเพียง 25% เมื่อเทียบกับซีพียูคอร์ 2 ดูโอทั่วไป และถัดไปจะพัฒนาบนแซนดีบร.

อินเทลและเซเลรอน · เซเลรอนและเพนเทียม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อินเทลและเพนเทียม

อินเทล มี 24 ความสัมพันธ์ขณะที่ เพนเทียม มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 17.78% = 8 / (24 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อินเทลและเพนเทียม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »