อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)
อำเภอเมืองอ่างทอง vs. เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)
อำเภอเมืองอ่างทอง เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การบริหาร เศรษฐกิจ และการศึกษาของจังหวัดอ่างทอง. ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี หรือ พระราชมนู เป็นขุนศึกและสมุหพระกลาโหมคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชมนู เกิดเมื่อไรและมีชื่อใดไม่ปรากฏแต่ได้ติดตาม สมเด็จพระนเรศวรมหาราชคราวประกาศอิสรภาพจึงสันนิษฐานว่าครอบครัวของพระราชมนูอาจถูกกวาดต้อนคราวเสียกรุงฯครั้งที่ 1 ได้มีการกล่าวไว้ในพงศาวดารว่าพระราชมนูเป็นทหารที่เก่งกล้าและมีความสามารถนอกจากนั้นยังเป็นทหารคู่พระทัยของสมเด็จพระนเรศวรอีกด้วย ซึ่งพระราชมนูมักออกศึกเคียงคู่พระนเรศวรในการตีเมืองต่างๆเสมอและสามารถชนะกลับมาได้เกือบทุกครั้งรวมถึงศึกยุทธหัตถีที่ตำบลหนองสาหร่ายอีกด้วย ภายหลังพระราชมนูได้รับการโปรดเกล้าจากสมเด็จพระนเรศวรให้เป็นออกญาพระสมุหกลาโหม แต่ประวัติของพระราชมนูมีอยู่น้อยมากเพราะมีการกล่าวถึงในพงศาวดารไม่กี่เล่ม พระราชมนูนั้นเคยรับพระราชบัญชาให้ไปตีเมืองโพธิสัตว์ (ปัจจุบันอยู่ในเขตพม่า) ซึ่งถือเป็นเมืองใหญ่ ในครั้งยังมียศเป็นคุณพระ ตอนนั้นองค์ดำเกรงว่าทัพน้อยของพระราชมนูจะไม่อาจเอาชัย จึงส่งทัพหลวงออกตามไปช่วย ปรากฏว่าเมื่อทัพหลวงไปถึง เมืองโพธิสัตว์ก็แตกเสียแล้ว ทัพหลวงไม่ต้องเข้าช่วยแต่อย่างใด นอกจากนี้พระราชมนูยังมีความบ้าบิ่นอย่างที่ใครๆในยุคนั้นไม่กล้า คือการขัดรับสั่งของพระนเรศในคราวตามเสด็จศึกพระเจ้าเชียงใหม่ ซึ่งพระราชมนูขัดรับสั่งถอนทัพโดยกล่าวว่า "การรบกำลังติดพัน กลัวว่าถอยแล้วจะเป็นเหตุให้ข้าศึกตามตี" เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อจากสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระองค์จึงได้ปูนบำเหน็จให้พระราชมนูขึ้นเป็น เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี ที่สมุหพระกลาโหม พระราชทานพานทอง น้ำเต้าทอง เจียดทองซ้ายขาว กระบี่ ฝวักทองและเครื่องอุปโภคต่าง ๆ ล่าสุดได้มีการค้นพบเจดีย์บรรจุอัฐิของเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดีหรือพระราชมนูพร้อมกับภริยาที่วัดช้างให้ บ้านน้ำผึ้ง ตำบลบ้านอิฐ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ทำให้ได้ทราบความจริงว่าพระราชมนูนั้นมีชื่อจริงว่า เพชร หรือ เพ็ชร เมื่อสิ้นรัชสมัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แล้วพระราชมนูได้ลาออกจากราชการและมาบวชจำพรรษาที่วัดช้างให้จนมรณภาพซึ่งทางกรมศิลปากรได้เตรียมเข้ามาบูรณะปฏิสังขรณ์เจดีย์บรรจุอัฐิของพระราชมนูและภร.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)
อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จังหวัดอ่างทอง
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)
การเปรียบเทียบระหว่าง อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)
อำเภอเมืองอ่างทอง มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.94% = 1 / (27 + 7)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อำเภอเมืองอ่างทองและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: