โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอโคกสำโรง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอโคกสำโรง

อำเภอพัฒนานิคม vs. อำเภอโคกสำโรง

อำเภอพัฒนานิคม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี และเป็นอำเภอที่ตั้งของเขื่อนป่าสักชลสิท. อำเภอโคกสำโรง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอโคกสำโรง

อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอโคกสำโรง มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): หมู่บ้านอำเภออำเภอชัยบาดาลอำเภอเมืองลพบุรีจังหวัดลพบุรีตำบลเขตการปกครองของประเทศไทย

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

หมู่บ้านและอำเภอพัฒนานิคม · หมู่บ้านและอำเภอโคกสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

อำเภอและอำเภอพัฒนานิคม · อำเภอและอำเภอโคกสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชัยบาดาล

ัยบาดาล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างขวางมาก ครอบคลุมพื้นที่อำเภอท่าหลวงและอำเภอลำสนธิในปัจจุบัน และเคยได้ถูกเสนอจัดตั้งเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระนารายณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2546 และปี พ.ศ. 2553.

อำเภอชัยบาดาลและอำเภอพัฒนานิคม · อำเภอชัยบาดาลและอำเภอโคกสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองลพบุรี

อำเภอเมืองลพบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี.

อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอเมืองลพบุรี · อำเภอเมืองลพบุรีและอำเภอโคกสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอพัฒนานิคม · จังหวัดลพบุรีและอำเภอโคกสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ตำบลและอำเภอพัฒนานิคม · ตำบลและอำเภอโคกสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

อำเภอพัฒนานิคมและเขตการปกครองของประเทศไทย · อำเภอโคกสำโรงและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอโคกสำโรง

อำเภอพัฒนานิคม มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ อำเภอโคกสำโรง มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 17.07% = 7 / (15 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อำเภอพัฒนานิคมและอำเภอโคกสำโรง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »