โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอป่าแดด

ดัชนี อำเภอป่าแดด

ป่าแดด (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงราย เดิมเป็นตำบลหนึ่งในอำเภอพาน ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 52 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งสิ้น 333.300 ตารางกิโลเมตร.

59 ความสัมพันธ์: ชาวมอญพ.ศ. 2512พ.ศ. 2515พ.ศ. 2518พ.ศ. 2557พระราชกฤษฎีกาพระธาตุจอมคีรีพฤษภาคมกันยายนกุมภาพันธ์ภาษายองภาษาราชการภาษาไทยภาษาไทยถิ่นอีสานภาษาไทยถิ่นเหนือภาษาไทลื้อมกราคมมิถุนายนฤดูฝนฤดูร้อนฤดูหนาวลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)วัดพระธาตุจอมรุ่งวัดโป่งสลีศาสนาพุทธศาสนาคริสต์หมู่บ้านหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชอักษรธรรมล้านนาอำเภออำเภอพานอำเภอภูกามยาวอำเภอจุนอำเภอดอกคำใต้อำเภอแม่ใจอำเภอเมืองพะเยาอำเภอเมืองเชียงรายอำเภอเทิงอุทยานแห่งชาติแม่ปืมจังหวัดพะเยาจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงรายถ้ำผาจรุยตำบลตำบลป่าแดด (อำเภอป่าแดด)ตุลาคมนายกรัฐมนตรีน้ำแม่อิงไทยวนไทยอง...ไทลื้อเขตการปกครองของประเทศไทย1 มิถุนายน13 พฤษภาคม21 สิงหาคม23 มิถุนายน29 มิถุนายน31 ธันวาคม8 สิงหาคม ขยายดัชนี (9 มากกว่า) »

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกา

ระราชกฤษฎีกา คือ บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดิ์ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและพระราชกฤษฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

พระธาตุจอมคีรี

ระธาตุจอมคีรี.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและพระธาตุจอมคีรี · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน

กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและกันยายน · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์

กุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่ 2 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นเดือนที่มีจำนวนวัน 28 หรือ 29 วัน โดยปกติจะมี 28 วัน ยกเว้นปีอธิกสุรทินที่มี 29 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมีน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเล และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำในปลายเดือน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและกุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายอง

ษายอง (Yong) เป็นภาษาหนึ่งของชาวไทลื้อ ตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไต-แสก มีผู้พูดในประเทศไทย ราวหนึ่งแสนคน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในจังหวัดลำพูน บางพื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากชาวไทลื้อที่อพยพมาจากเมืองยอง รัฐฉาน ประเทศพม่า มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาไทลื้อ.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและภาษายอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราชการ

ษาทางการ หรือ ภาษาราชการ คือภาษาที่มีการกำหนดให้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารภายในประเทศและเขตแดนที่ติดต่อกับประเทศนั้น บางครั้งภาษาท้องถิ่นถูกเข้าใจผิดว่าเป็นภาษาทางการเพราะมีการใช้การติดต่อกับทางส่วนการปกครองของท้องที่นั้น ในขณะที่ประเทศส่วนใหญ่มีภาษาทางการ 1 ภาษา บางประเทศมีภาษาทางการ 2 ภาษาขึ้นไป เช่น เบลเยียม แคนาดา ฟินแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ฯลฯ ขณะเดียวกันบางประเทศไม่มีภาษาทางการ เช่น สหรัฐอเมริกา สวีเดน ฯลฯ ภาษาทางการของบางประเทศที่อยู่ภายใต้อาณานิคม เช่น ภาษาอังกฤษ และ ภาษาฝรั่งเศส ถูกใช้เป็นภาษาทางการ ถึงแม้ว่าไม่ใช่ภาษาที่มีการใช้เป็นหลักในประเทศนั้นๆ ในประเทศไอร์แลนด์ ภาษาไอร์แลนด์ (ไอริช) เป็นภาษาทางการและเป็นภาษาประจำชาติของประเทศ แต่มีผู้ใช้ภาษาไอร์แลนด์น้อยกว่า 1 ใน 3 ของประชากรประเทศ ขณะที่ผู้คนส่วนมากใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ในบางประเทศมีการโต้เถียงอย่างรุนแรง ในประเด็นที่ว่าควรใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการของประเทศ สำหรับประเทศไทยนั้น ใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เป็น "ภาษากลาง" ที่ได้พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากภาษาไทยถิ่นกลางมาโดยลำดับ จนมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นกลางอื่นๆ เรียกอีกอย่างว่าเป็นภาษาหนังสือ เป็นภาษาที่ใช้ในเอกสารราชการ การประชุมที่เป็นทางการ หนังสือ และตำราต่างๆ โดยปรากฏแนวการพัฒนาเป็นภาษากลางตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและภาษาราชการ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นอีสาน

ษาไทยถิ่นอีสาน หรือ ภาษาลาวอีสาน เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่งในสำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวซึ่งแบ่งเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและภาษาไทยถิ่นอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นเหนือ

ำเมือง (40px)) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นภาษาถิ่นของชาวไทยวนทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งเป็นอาณาจักรล้านนาเดิม ได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, อุตรดิตถ์, แพร่, น่าน, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา และยังมีการพูดและการผสมภาษากันในบางพื้นที่ของจังหวัดตาก, สุโขทัย และเพชรบูรณ์ ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดสระบุรี, จังหวัดราชบุรี และอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เคียงกับราชบุรีอีกด้วย คำเมืองยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่, ลำพูน และแม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัดเชียงราย, พะเยา, ลำปาง, อุตรดิตถ์, แพร่ และน่าน) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย) ส่วนคนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมืองยอง เพราะชาวลำพูนจำนวนมากสืบเชื้อสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ คำเมืองมีไวยากรณ์คล้ายกับภาษาไทยกลางแต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยู่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับ อักษรธรรมล้านนา ซึ่งเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอญเป็นต้นแ.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและภาษาไทยถิ่นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทลื้อ

ษาไทลื้อ หรือ ภาษาลื้อ (ไทลื้อ: ᦅᧄᦺᦑᦟᦹᧉ กำไตลื้อ; 傣仂语 Dǎilèyǔ ไต่เล่อหยวื่อ; Lự, Lữ หลื่อ, หลือ) เป็นภาษาไทยถิ่นแคว้นสิบสองปันนา หรือ เมืองลื้อ อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได และมีคำศัพท์และการเรียงคำศัพท์คล้ายกับภาษาไทยถิ่นอื่น ๆ ผู้พูดภาษาไทลื้อเรียกว่าชาวไทลื้อหรือชาวลื้อ ภาษาไทลื้อมีผู้พูดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 2,000,000 คน โดยมีจำนวนผู้พูดในประเทศจีน 300,000 คน ในประเทศพม่า 200,000 คน ในประเทศไทย 1,200,000 คน และในประเทศเวียดนาม 5,000 คน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและภาษาไทลื้อ · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม

มกราคม เป็นเดือนแรกของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมกราคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีมกร และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมกราคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู และไปอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลในปลายเดือน เดือนมกราคมในภาษาอังกฤษ January มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า ยานุส (Janus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งประตูทางผ่าน การเริ่มต้น และการสิ้นสุด ปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคมมีเดือนเพียง 10 เดือน (304 วัน) โดยไม่มีเดือนในช่วงฤดูหนาว ต่อมาได้มีการเพิ่มเดือน 2 เดือน คือ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทำให้ 1 ปีมี 12 เดือน ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมกราคมในปี..

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและมกราคม · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน

มิถุนายน เป็นเดือนที่ 6 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมิถุนายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมถุน และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกรกฎ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมิถุนายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาววัวและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวคนคู่ ชื่อในภาษาอังกฤษ "June" มีที่มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า จูโน (Juno) ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมิถุนายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและมิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูฝน

พายุฤดูฝนในเมืองดาร์วิน ประเทศออสเตรเลีย ฤดูฝน (อังกฤษ: Rainy Season) เป็นฤดูกาลที่มีฝนตกตลอดทั้งเดือน ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมของ ประเทศไทย และจะเกิดมากที่สุดในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และฤดูฝนยังทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและยังช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองภายในอากาศด้วย ฝนนั้นเกิดจากการควบแน่น ของก๊าซและกลายเป็นของเหลวตกลงมาซึ่งฤดูฝนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นอย่างมาก และยังช่วยเพิ่มปริมาณน้ำให้มากขึ้นอีกด้วย ฝน หมวดหมู่:ฝน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและฤดูฝน · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูร้อน

ูร้อนในประเทศเบลเยี่ยม ฤดูร้อน (Summer) เป็นฤดูที่มีอากาศร้อนที่สุดในปี ฤดูร้อนในเขตอบอุ่นและเขตหนาวของซีกโลกเหนืออยู่ระหว่างฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วง โดยทั่วไปคือตั้งแต่ 21 มิถุนายน (วันครีษมายัน) ถึง 21 กันยายน (วันศารทวิษุวัต) ในฤดูร้อนกลางวันจะยาวกว่ากลางคืน โดยความยาวของวันจะเริ่มลดลงเมื่อสิ้นฤดูร้อน ในวันวิษุวัต วันที่เริ่มต้นของฤดูร้อนในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน ตามสภาพแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ในทางโหราศาสตร์จีน ฤดูร้อนจะเริ่มต้นตั้งแต่ประมาณวันที่ 5 พฤษภาคม คือเมื่อ jiéqì (ปฏิทินโหราศาตร์จีน) เข้าสู่สภาวะ lìxià (立夏) และจบลงราววันที่ 6 สิงหาคม.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูหนาว

ฤดูหนาว (ฝรั่งเศส: hiver; เยอรมัน อังกฤษ: winter; สเปน: invierno; โปรตุเกส: inverno) เป็นฤดูที่มีอากาศหนาวที่สุดในปี ฤดูหนาวในเขตอบอุ่นและเขตหนาวของซีกโลกเหนือ โดยทั่วไปจะมีระยะเวลาตั้งแต่ 22 ธันวาคม ถึง 22 มีนาคม ของทุกปี เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในระยะนี้ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือได้พัดปกคลุมประเทศไทย ทำให้อุณหภูมิลดลงทั่วไป อากาศจะหนาวเย็น ยกเว้นภาคใต้ของประเทศไทยอุณหภูมิจะลดลงได้บ้างเป็นครั้งคราวและจะมีฝนตกตามชายฝั่งทะเลตะวันออก ตั้งแต่สุราษฎร์ธานีลงไปจนถึงนราธิวาส หนาว หมวดหมู่:ฤดูหนาว.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและฤดูหนาว · ดูเพิ่มเติม »

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและลาว (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุจอมรุ่ง

ระธาตุจอมรุ่ง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและวัดพระธาตุจอมรุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

วัดโป่งสลี

วัดสันกู่ ตั้งอยู่ที่บ้านโป่งสลี เลขที่ 40 หมู่ที่ 1 ตำบลโรงช้าง อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย เดิมเป็นวัดร้าง ชาวบ้านเรียกว่า(ลอมกู่หรือวัดสันกู่) สร้างมาในสมัยใดและใครเป็นผู้สร้าง ไม่มีใครทราบมีหลักฐานที่ปรากฏเหลือไว้คือ เสาหิน อิฐแบบโบราณ และพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดหน้าตักกว้าง 3 ศอก แกะสลักด้วยหินทรายแดง 1 องค์ ประดิษฐานตั้งอยู่บนเนินซากฐานเจดีย์เก่าก่อด้วยอิฐแบบโบราณ จึงสันนิษฐานว่าวัดนี้อาจจะสร้างในสมัยที่พม่าปกครองล้านนาประมาณปี..2101 เพราะได้นำอิฐให้กรมศิลปกรได้ ตรวจสอบและได้สันนิษฐานว่าประมาณ 400-500ปี ต่อมาในปี..

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและวัดโป่งสลี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

อักษรธรรมล้านนา

ป้ายชื่อวัดหม้อคำตวง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา'''ถอดเป็นอักษรไทย:''' "วัดหฺมฺ้อฅำทฺวง์"'''คำอ่าน:''' "วัดหม้อคำตวง" อักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง (210px อักขรธัมม์ล้านนา รฤ ตัวเมือง; ᦒᧄ, ธรรม, "คัมภีร์") หรือ อักษรยวน ภาษาไทยกลางในอดีตเรียกว่า ไทยเฉียง เป็นอักษรที่ใช้ในสามภาษา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อและภาษาเขิน นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) และภาษาถิ่นอื่นในคัมภีร์ใบลานพุทธและสมุดบันทึก อักษรนี้ยังเรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับภาษาไทยและเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อยที่รู้อักษรล้านนา อักษรนี้ยังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถิ่นเหนือมีหกวรรณยุกต์ ขณะที่ภาษาไทยมีห้าวรรณยุกต์ ทำให้การถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มีความสนใจในอักษรล้านนาขึ้นมาอีกบ้างในหมู่คนหนุ่มสาว แต่ความยุ่งยากเพิ่มขึ้น คือ แบบภาษาพูดสมัยใหม่ ที่เรียก คำเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอักษรธรรมล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพาน

น (30px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอพาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภูกามยาว

อำเภอภูกามยาว (40px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอภูกามยาว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอจุน

น (20px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอจุน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดอกคำใต้

อกคำใต้ (69px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพะเยาและอยู่ใกล้กับตัวเมืองพะเยามากที่สุด อยู่ห่างตัวเมืองเพียง 11 กิโลเมตร ดอกคำใต้เป็นที่รู้จักกันในนามแม่หญิงงามดอกคำใต้ ซึ่งผู้หญิงในอำเภอดอกคำใต้นั้นมีความงดงามทั้งหน้าตาและกิริยา สมกับเป็นหญิงงามแห่งเมืองเหนือ ประวัติอำเภอดอกคำใต้ ในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ซึ่งมีพ่อขุนรามคำแหงเป็นกษัตริย์ ได้มีสัมพันธ์ไมตรีอย่างดียิ่งกับ เมืองภูกามยาว(จังหวัดพะเยาในปัจจุบัน) ซึ่งมีพ่อขุนงำเมืองเป็นกษัตริย์ พ่อขุนรามคำแหงได้เสด็จมาเยี่ยมเป็นประจำ โดยยกขบวนช้าง ม้า บริวาร มาเป็นอันมาก โดยเสด็จผ่านทางเวียงโกศัย(เมืองแพร่) ผ่านมาทางอำเภอดอกคำใต้ จนถึงเมืองภูกามยาว จนเกิดรอยตีนช้าง ตีนม้า เมื่อฝนตกทำให้น้ำไหลตามรอยตีนช้าง ตีนม้า จนกลายเป็นร่องลึก เรียกว่า “แม่น้ำร่องช้าง” ประชาชนเห็นว่าเป็นแหล่งที่อุดมสมบูรณ์จึงมาตั้งบ้านแปงเมืองอยู่ตามลำน้ำ และประกอบกับสองฝั่งลำน้ำร่องช้างมีต้นดอกคำใต้ขึ้นเป็นอันมาก จึงตั้งชื่อชุมชนนี้ว่า บ้านดอกคำใต้ ต่อมาชุมชนมีขนาดใหญ่ขึ้น และยกฐานะเป็นอำเภอเมื่อ..

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอดอกคำใต้ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่ใจ

อำเภอแม่ใจ (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอแม่ใจ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองพะเยา

มืองพะเยา (60px) เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การบริหารราชการ การศึกษา และเศรษฐกิจ ความเจริญ ของจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอเมืองพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองเชียงราย

ตัวเมืองเชียงราย เมืองเชียงราย (80px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย ที่มีศูนย์กลางการบริหาร ศูนย์กลางคมนาคม ศูนย์กลางธุรกิจ และศูนย์กลางทางศาสนาและวัฒนธรรมล้านนาของจังหวัดเชียงราย นับเป็นหนึ่งในอำเภอเมืองที่มีความเจริญมากในภาคเหนือตอนบนรองจากอำเภอเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอเมืองเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเทิง

อยเอียน เทิง (20px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอำเภอเทิง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติแม่ปืม

อุทยานแห่งชาติแม่ปืม มีอาณาเขตไม่มากนัก แต่ป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรังที่ปกคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานแห่งชาติก็เป็นจุดเด่นที่สร้างสีสันงดงามในยามหน้าแล้งที่ผืนป่าพากันเปลี่ยนสี อุทยานแห่งชาติมีพื้นที่ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ป่าดอยปุย และป่าแม่ปืม ป่าดอยปุยอยู่ในเขตอำเภอพานและอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ป่าแม่ปืมอยู่ในพื้นที่อำเภอพานและอำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย และอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา พื้นที่ประมาณ 222,500 ไร่ หรือ 356 ตารางกิโลเมตร (พื้นที่อยู่ในเขตจังหวัดเชียงราย ประมาณ 137,431 ไร่ หรือ 220 ตารางกิโลเมตร และอยู่ในเขตจังหวัดพะเยา ประมาณ 85,069 ไร่ หรือ 136 ตารางกิโลเมตร) ภายในอุทยานฯ มีอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ คือ อ่างเก็บน้ำแม่ปืม.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและอุทยานแห่งชาติแม่ปืม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพะเยา

ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและจังหวัดพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

ถ้ำผาจรุย

้ำผาจรุย (80px) หรือ ถ้ำพระอภิรมย์ ตั้งอยู่ที่ตำบลป่าแงะ อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย อยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 60 กิโลเมตร อยู่ทางทิศเหนือของอำเภอแป่แดดทางทิศตะวันออกเยงใต้ของจังหวัดเชียงราย ความยาวของดอยที่ตั้งถ้ำนี้ประมาณ 1.8 กิโลเมตร วางวาดตัวตามแนวนอนทิศเหนือ-ใต้ ส่วนตัวถ้ำอยู่ทางด้านใต้สุดของดอยลูกนี้ ถ้ำผาจรุยนั้นเป็นถ้ำที่มีความศักดิ์สิทธิ์สวยงาม ทั้งยังมีพระพุทธรูปประดิษฐานในบริเวณถ้ำ เนื้อที่บริเวณวัดถ้ำผาจรุยนั้นมี พื้นที่ประมาณ 60 ไร่ ลักษณะของถ้ำผาจรุยนั้นมีลักษณะเป็นภูเขาตั้งโดดเด่นแยกตัวออกมาจากภูเขาลูกอื่น ซึ่งภายในประกอบด้วย ภูเขาเล็ก ๆ สลับซับซ้อนอย่างลงตัวและสวยงาม นอกจากนั้นยังมีถ้ำเล็กถ้ำน้อยกระจัดกระจายอยู่โดยทั่วไป ตัวถ้ำตั้งอยู่ในกลุ่มดอยที่มีขนาดไล่เลี่ยกัน 4 ลูก โดยอย่ในลูกที่อยู่ใต้สุด เป็นดอยที่ส่วนใหญ่เป็นหินปูน มีต้นไม้ใหย๋ปกคลุทอยู่ เช่น ไม้ลุง ไม่ตะแบก ต้นจันทร์ผา และไม้เนื้ออ่อนอีกหลายชนิด ดอยนี้สูงประมาณ 80-9ๆ เมตร ไยวประมาณ 1,300 เมตร ดอยลูกอื่นที่อยู่ใกล้เคียงกันนี้เป็นดอยที่มีการสัมปทานในการระเบิดหิน ดังนั้นบนดอยที่มีการระเบิดหินจึงไม่มีต้นไม้ขึ้น มีการสร้างถาวนวัตถุเพิ่มขึ้นหลายอย่าง เช่นสระน้ำ ศาลาพักร้อน รั้ว เป็นต้น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและถ้ำผาจรุย · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลป่าแดด (อำเภอป่าแดด)

ตำบลป่าแดด ตั้งอยู่ที่ อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย ขนาดพื้นที่รับผิดชอบมี 53 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและตำบลป่าแดด (อำเภอป่าแดด) · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม

ตุลาคม เป็นเดือนที่ 10 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนตุลาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีตุล และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพิจิก แต่ในทางดาราศาสตร์ เดือนตุลาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาวและไปอยู่ในกลุ่มดาวคันชั่งตอนต้นเดือนพฤศจิกายน เดือนตุลาคมในภาษาอังกฤษ October มาจากภาษาละติน octo เนื่องจากเป็นเดือนที่ 8 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนตุลาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

น้ำแม่อิง

น้ำแม่อิง (40px) เป็นแม่น้ำสายหลักของจังหวัดเชียงรายและจังหวัดพะเยา เป็นเพียงหนึ่งในแม่น้ำไม่กี่สายในประเทศที่ไหลย้อนขึ้นทางทิศเหนือ น้ำแม่อิงเป็นลำน้ำสาขาสายหนึ่งของแม่น้ำโขง โดยไหลลงแม่น้ำโขงที่บ้านปากอิง หมู่ที่ 16 ตำบลศรีดอนชัย อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและน้ำแม่อิง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยวน

ทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) เป็นกลุ่มประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาไท-กะไดกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา "ไทยวน" เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฎหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับชาวฉาน โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนฉานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐฉานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ฉานพม่า" (Burmese Shan) แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลายๆกลุ่ม ในปี..

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและไทยวน · ดูเพิ่มเติม »

ไทยอง

มารถดูชนกลุ่มที่มีความใกล้เคียงกับชาวไทยองได้ที่ ชาวไทลื้อ ชาวไทยอง หรือ ชาวเมืองยอง ใช้เรียกกลุ่มคนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณเมืองยอง และกระจายอยู่ในด้านตะวันออกของรัฐฉาน ประเทศพม่า เขตสิบสองพันนา ในมณฑลยูนนานของจีน ภายหลังได้อพยพเข้ามาตั้งบ้านเรือนใน จังหวัดลำพูน เชียงใหม่ เชียงราย และน่าน ในสมัยรัชกาลที่ 1 ภายใต้กุศโลบาย "เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง" ของ พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ แห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ เพื่อรื้อฟื้นอาณาจักรล้านนาภายหลังการยึดครองของพม่าสิ้นสุดลง จากตำนาน ชาวเมืองยองนั้น ได้อพยพมาจากเมืองเชียงรุ้งและเมืองอื่นๆ ในสิบสองปันนา ซึ่งเป็นคนไทลื้อ และได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหญ่ในเมืองลำพูน และ เชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2348 ด้วยสาเหตุของสงคราม เจ้าเมืองยองพร้อมด้วยบุตรภรรยา น้องทั้ง 4 ญาติพี่น้อง ขุนนาง พระสงฆ์และไพร่พลจากเมืองยอง จำนวน 20,000 คนเข้ามาแผ้วถางเมืองลำพูนที่ร้างอยู่ ตั้งบ้านเรือนตามลุ่มน้ำแม่ทา น้ำแม่ปิง ผู้คนทั่วไปในแถบนั้นจึงเรียกคนที่มาจากเมืองยองว่า ชาวไทยอง ในสมัยนั้นผู้คนต่างเมืองที่มาอยู่ร่วมกัน จะเรียกขานคนที่มาจากอีกเมืองหนึ่งตามนามของคนเมืองเดิม เช่น คนเมืองเชียงใหม่ คนเมืองลำปาง คนเมืองแพร่ คนเมืองน่าน คนเมืองเชียงตุง เป็นต้น แต่ของคนเมืองยองนั้น ต่อมาคำว่าเมืองได้หายไป คงเหลืออยู่คำว่า คนยอง ดังนั้น ยอง จึงมิใช่เป็นเผ่าพันธุ์ และเมื่อวิเคราะห์จากพัฒนาการ ประวัติศาสตร์ของเมืองยองแล้ว ชาวไทยอง ก็คือ ชาวไทลื้อนั่นเอง.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและไทยอง · ดูเพิ่มเติม »

ไทลื้อ

ทลื้อ หรือ ไตลื้อ หรือ คนลื้อ เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่ง มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในแถบสิบสองปันนาของจีน มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือการใช้ภาษาไทลื้อ และยังมีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์อื่นๆ เช่น การแต่งกาย ศิลปะและประเพณีต่าง.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและไทลื้อ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและ13 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและ21 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 มิถุนายน

วันที่ 23 มิถุนายน เป็นวันที่ 174 ของปี (วันที่ 175 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 191 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและ23 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อำเภอป่าแดดและ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อ.ป่าแดด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »