โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาร์แอนด์บีร่วมสมัยและเจย์ ฌอน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อาร์แอนด์บีร่วมสมัยและเจย์ ฌอน

อาร์แอนด์บีร่วมสมัย vs. เจย์ ฌอน

อาร์แอนด์บีร่วมสมัย (Contemporary R&B) คือแนวเพลงที่ได้รับความนิยมในฝั่งตะวันตก ถึงแม้ว่าคำย่อของคำว่า อาร์แอนด์บี จะดูเชื่อมโยงกับเพลงริทึมแอนด์บลูส์ดั้งเดิม แต่คำว่าอาร์แอนด์บีในปัจจุบันมักจะใช้ระบุหมายถึง ดนตรีของชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ที่มีต้นกำเนิดหลังจากการจากไปของดนตรีดิสโก้ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 แนวเพลงใหม่นี้มีองค์ประกอบของดนตรีโซล ฟังก์ แดนซ์ และตั้งแต่ปี 1986 เป็นต้นมาหลังการเกิดของเพลงนิวแจ็กสวิงที่เป็นเพลงอาร์แอนด์บี ฮิปฮอป คำย่อ อาร์แอนด์บี โดยมากมักจะมีความหมายความหมายรวมทั้งหมดของริทึมแอนด์บลูส์ ถึงแม้ว่าบางแหล่งจะอ้างว่าหมายถึงเพลงแนวเออเบินคอนเทมโพแรรี (ชื่อใช้เช่นเดียวกับรูปแบบสถานีวิทยุที่เปิดเพลงในแนวฮิปฮอปและอาร์แอนด์บีร่วมสมัย) เพลงอาร์แอนด์บีร่วมสมัยเป็นงานเพลงที่ลื่นไหล มีจังหวะดรัมแมชชีนเป็นเบื้องหลัง ในบางครั้งใช้จังหวะแซกโซโฟนร้อยเข้ากับจังหวะให้ได้ความรู้สึกแบบแจ๊ซ (โดยมากเพลงอาร์แอนด์บีเช่นนี้จะมีในปี 1993) และดูนุ่มนวล การเรียบเรียงเสียงร้องอย่างโอ่อ่า ใช้จังหวะที่ได้รับอิทธิพลจากเพลงฮิปฮอป ถึงแม้ว่าความกระด้างที่เป็นลักษณะทั่วไปของฮิปฮอปจะมีอยู่แต่ก็ลบและทำให้ดูนุ่มนวลลงในเพลงอาร์แอนด์บีร่วมสมัย นักร้องแนวอาร์แอนด์บีมักใช้เทคนิคที่เรียกว่าเมลิสม่า นักร้องที่ได้รับความนิยมเช่น สตีวี วันเดอร์, วิตนีย์ ฮูสตัน, และมารายห์ แครี. อน (Jay Sean) เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1979 เป็นนักร้อง โปรดิวเซอร์ชาวอังกฤษ เกิดในเวสต์ลอนดอน ประเทศอังกฤษ มีชื่อจริงว่า กามัลจิต ซิงห์ ชูติ (อังกฤษ:Kamaljit Singh Jhooti,ปัญจาบ:ਕਮਲਜੀਤ ਸਿੰਘ ਝੁੱਟੀ) มีผลงานเพลงที่รู้จักอย่างเพลง "Stolen", "Eyes On You", "Ride It" และ "Tonight" ในสหราชอาณาจักร เขามีผลงานอัลบั้มชุด Me Against Myself (2004) และ My Own Way (2008) เขาเซ็นสัยญากับค่ายเวอร์จินและเจยด์เรเคิดส์ ในสหรัฐอเมริกาเขาเซ็นสัญญากันค่ายแคชมันนีย์เรเคิดส์ มีผลงานอัลบั้มชุดแรกในสหรัฐอเมริกา (ชุดที่ 3 ของเขา) All or Nothing และมีผลงานซิงเกิลเปิดตัวในสหรัฐอเมริกาอย่างซิงเกิล "Down" ที่สามารถขึ้นอันดับ 1 ในบิลบอร์ดฮอต 100 ได้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อาร์แอนด์บีร่วมสมัยและเจย์ ฌอน

อาร์แอนด์บีร่วมสมัยและเจย์ ฌอน มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฮิปฮอปป็อปโซล (แนวดนตรี)

ฮิปฮอป

ปฮอป (Hip Hop) หรืออาจเขียนเป็น ฮิป-ฮอป (Hip-hop) มีความหมายถึงในด้านดนตรีแนวฮิปฮอป ที่เป็นที่นิยมสำหรับวัยรุ่นอเมริกาและทั่วโลก จนถูกยกระดับให้เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งมีรากฐานการพัฒนามาจากชาวแอฟริกัน-อเมริกัน และ ชาวละติน โดยในช่วงยุค 70' หลังจากที่ดนตรีดิสโก้ที่พัฒนามาจาก แนวเพลงฟังค์ ในแบบของโมทาวน์ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทำให้มีการเปิดแผ่นเพลงในคลับต่าง ๆ และด้วยการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เกิดการสร้าง loop, beat ใหม่ ๆ ขึ้นมา ดนตรีฮิปฮอป จึงถือกำเนิดขึ้น.

อาร์แอนด์บีร่วมสมัยและฮิปฮอป · ฮิปฮอปและเจย์ ฌอน · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ป็อปและอาร์แอนด์บีร่วมสมัย · ป็อปและเจย์ ฌอน · ดูเพิ่มเติม »

โซล (แนวดนตรี)

ซล เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา" การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง.

อาร์แอนด์บีร่วมสมัยและโซล (แนวดนตรี) · เจย์ ฌอนและโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อาร์แอนด์บีร่วมสมัยและเจย์ ฌอน

อาร์แอนด์บีร่วมสมัย มี 30 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจย์ ฌอน มี 18 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 6.25% = 3 / (30 + 18)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อาร์แอนด์บีร่วมสมัยและเจย์ ฌอน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »