อาร์เอ็มเอส ไททานิกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง อาร์เอ็มเอส ไททานิกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447
อาร์เอ็มเอส ไททานิก vs. แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447
อาร์เอ็มเอส ไททานิก (RMS Titanic) เป็นเรือโดยสารซึ่งจมลงสู่ก้นมหาสมุทรแอตแลนติกเมื่อวันที่ 15 เมษายน.. แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 เป็นเที่ยวบินที่บินจากท่าอากาศยานรีโอเดอจาเรโน กาเลโอ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล สู่ ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์ลส์ เดอ โกลล์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ที่หายไปจากจอเรดาร์ขณะบินอยู่เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยได้รับการยืนยันแล้วว่าผู้โดยสาร 228 ชีวิตบนเครื่องเสียชีวิตทั้งหมด เที่ยวบินนี้ (บินด้วยเครื่อง แอร์บัส เอ 330-203) ออกจากท่าอากาศยานในกรุงริโอเดอจาเนโรเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 เมื่อเวลา 19.03 น. ตามเวลาท้องถิ่น (เวลา 22.03 น. ตามเวลา UTC) มีการติดต่อครั้งสุดท้ายจากลูกเรือถึงผู้ควบคุมการจราจรของบราซิลเมื่อเวลา 01.33 น. (UTC) เมื่อเครื่องบินกำลังจะเข้าใกล้ระยะตรวจตราของเรดาร์ของบราซิลเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก มุ่งหน้าสู่น่านฟ้าของ ประเทศเซเนกัล ริมชายฝั่ง ทวีปแอฟริกาตะวันตก ต่อจากนั้น 40 นาทีมีข้อความอัตโนมัติความยาว 4 นาทีส่งมาจากเครื่องบิน ข้อความเหล่านั้นแสดงให้เห็นคำเตือนและปัญหามากมายบนเครื่อง สำหรับความหมายที่แท้จริงของข้อความนั้นกำลังอยู่ในระหว่างการสืบสวน หลังจากเครื่องสูญเสียการติดต่อกับผู้ควบคุมทางอากาศหรือภาคพื้นดิน การค้นหาจึงเริ่มขึ้น จากข้อความ 4 นาทีที่ส่งมาจากเครื่องทำให้สามารถระบุได้ว่าเครื่องน่าจะสูญหายหลังจากข้อความนั้น ต่อมาวันที่ 6 มิถุนายน มีการพบศพและซากบางส่วนของเครื่องบิน 680 ไมล์ (1,090 กิโลเมตร) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเฟอร์นันโด เดอ โนโรนฮา บริเวณชายฝั่งบราซิล ซากเครื่องบินที่พบนั้นมีกระเป๋าเอกสารที่ภายหลังได้รับการยืนยันว่าเป็นของเที่ยวบินนี้ ต่อจากนั้นมีการพบศพอีก 39 ศพ ทำให้ยอดผู้เสียชีวิตรวมเป็น 41 ศพเท่าที่มีการยืนยันครั้งแรก และยืนยันในเวลาต่อมาเป็น 219 ศพ ซึ่งถือเป็นอุบัติเหตุทางการบินครั้งร้ายแรงที่สุดของแอร์ฟรานซ์ ที่เกินกว่าความเสียหายเที่ยวบินการกุศล Château de Sully และเป็นความเสียหายที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่าครั้งของ แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 4590 เสียอีก หายนะนี้ยังเป็นความเสียหายครั้งแรกนับแต่เครื่องบิน แอร์บัส เอ 330 เริ่มใช้งานเมื่อ 16 ปีก่อนอีกด้วย ผลการสอบสวนชี้ให้เห็นว่า เครื่องบินประสบปัญหาด้านสภาพอากาศ โดยเที่ยวบินนี้ไม่ได้หลีกเลี่ยงการบินฝ่าพายุฝนฟ้าคะนองหนาแน่นโดยไม่ทราบเหตุผล อีกทั้งนักบินยังมีปัญหาอื่นๆในห้องนักบินอีกหลายประการ เช่น ขณะวิกฤตการณ์ผู้บังคับเครื่องทั้งสองคนเป็นนักบินผู้ช่วย(F/O)ส่วนกัปตันไปพักผ่อน และการตั้งค่าเรดาห์ตรวจอากาศไม่ถูกต้องซึ่งเมื่อนักบินแก้ไขค่าของเรดาห์แล้วพบว่าเครื่องบินกำลังบินอยู่ท่ามกลางพายุ แม้นักบินทั้งสองจะเปลี่ยนเส้นทางบินเล็กน้อยเพื่อหลีกเลี่ยงศูนย์กลางพายุแต่ก็ไม่ช่วยให้สถานการณ์ดีขึ้นมากนัก ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของพายุทำให้ความหนาแน่นของอากาศต่ำกว่าที่นักบินประเมินไว้ก่อนขึ้นบินทำให้ไม่สามารถเพิ่มระดับเพดานบินได้อีก นักวิทยาศาสตร์ได้อธิบายว่า ขณะที่เครื่องบินบินผ่านพายุในระดับความสูงกว่า 35,000 ฟุตนั้น เครื่องบินได้พบกับปฏิกิริยาที่เรียกว่า Super cold water ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่น้ำมีอุณหภูมิที่ต่ำกว่าจุดเยือกแข็งปกติแต่กลับยังคงมีสถานะเป็นของเหลว ซึ่งเมื่อไอน้ำในอากาศซึ่งมีลักษณะ Super cold สัมผัสกับผิวเครื่องบินซึ่งมีอุณหภูมิสูงกว่าทำให้เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งจับตัวกันบนผิวเครื่องบิน ซึ่งในกรณีนี้คือท่อปิโต (Pitot probe) ซึ่งมีหน้าที่วัดความเร็วในอากาศของเครื่องบิน (Air speed) ทำให้คอมพิวเตอร์สูญเสียความสามารถในการวัดความเร็ว คอมพิวเตอร์ได้แจ้งเตือนนักบินและออกจากระบบการบินอัตโนมัติ (auto pilot) นอกจากนี้คอมพิวเตอร์บนเครื่องบินยังแจ้งความผิดพลาดอีกหลายส่วนเข้ามาในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยไม่ทราบเหตุผล นักบินผู้ช่วยคนหนึ่งได้ดึงคันบังคับเข้าหาตัวซึ่งทำให้เครื่องบนเชิดหัวขึ้นและเพิ่มระดับขึ้นไปจากเดิมกว่า 700 เมตร จนกระทั่งเครื่องบินสูญเสียความเร็วจนต่ำกว่าความเร็วการบินต่ำสุด ซึ่งคอมพิวเตอร์ได้ส่งเสียงเตือนการ stall ถึง 75 ครั้ง แต่นักบินกลับเพิกเฉยต่อสัญญาณเตือนและยังคงดึงคันบังคับเข้าตัวตลอดเวลา ทำให้เครื่อง stall และสูญเสียระดับความสูงอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งกระทบพื้นน้ำมหาสมุทรแอตแลนติกที่ความเร็วกว่า 200 ไมล์ต่อชั่วโมง ภายในเวลา 3 นาทีครึ่ง เครื่องบินสูญเสียความสูงกว่า 35,000 ฟุต (ประมาณ 10 กิโลเมตร) หรืออัตราประมาณ 10,000 ฟุตต่อนาที ในช่วงสุดท้ายก่อนกระทบพื้นน้ำ นักบินเกือบช่วยชีวิตคนทั้งหมดไว้ได้ เมื่อนักบินผู้ช่วยอีกคนหนึ่งให้สัญญาณขอเข้าควบคุมเครื่องบิน (หลังจากทราบว่าเครื่อง stall อันเนื่องมาจากนักบินอีกคนดึงคันบังคับไว้ตลอดเวลา) โดยกดหัวเครื่องบินลงเพื่อเพิ่มความเร็ว แต่ความสูง 2,000 ฟุต ไม่มากพอจะเพิ่มความเร็วของเครื่องบินได้ทัน การค้นหากล่องบันทึกการบินและเครื่องบันทึกการสนทนาภายในห้องนักบิน(CVR) ถูกพบหลังจากเหตุการณ์เครื่องบินตกเกือบ 2 ปี ที่ความลึกกว่า 1.2 กิโลเมตร ซึ่งจากข้อมูลของ CVR ทำให้ทราบว่า เกิดความสับสนของนักบินผู้ช่วยทั้งสองคนตลอดเวลาที่เข้าควบคุมเครื่อง และตลอดการเกิดวิกฤตการณ์ กัปตันก็ไม่ได้เข้าควบคุมเครื่องบิน อีกทั้งข้อมูลการสนทนายังทำให้ทราบว่า นักบินเพิกเฉยต่อสัญญาญเตือนการร่วงหล่น (Stall) อย่างเห็นได้ชัด ไม่มีการพูดถึงและไม่มีใครถาม จนกระทั่งไม่กี่วินาทีสุดท้.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อาร์เอ็มเอส ไททานิกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447
อาร์เอ็มเอส ไททานิกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2552มหาสมุทรแอตแลนติกประเทศฝรั่งเศสปารีส31 พฤษภาคม
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
พ.ศ. 2552และอาร์เอ็มเอส ไททานิก · พ.ศ. 2552และแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 · ดูเพิ่มเติม »
มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).
มหาสมุทรแอตแลนติกและอาร์เอ็มเอส ไททานิก · มหาสมุทรแอตแลนติกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 · ดูเพิ่มเติม »
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ประเทศฝรั่งเศสและอาร์เอ็มเอส ไททานิก · ประเทศฝรั่งเศสและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 · ดูเพิ่มเติม »
ไม่มีคำอธิบาย.
ปารีสและอาร์เอ็มเอส ไททานิก · ปารีสและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 · ดูเพิ่มเติม »
วันที่ 31 พฤษภาคม เป็นวันที่ 151 ของปี (วันที่ 152 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 214 วันในปีนั้น.
31 พฤษภาคมและอาร์เอ็มเอส ไททานิก · 31 พฤษภาคมและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ อาร์เอ็มเอส ไททานิกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง อาร์เอ็มเอส ไททานิกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447
การเปรียบเทียบระหว่าง อาร์เอ็มเอส ไททานิกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447
อาร์เอ็มเอส ไททานิก มี 60 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 6.10% = 5 / (60 + 22)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อาร์เอ็มเอส ไททานิกและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: