เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์และแบบจำลองเอกภพสถิต

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์และแบบจำลองเอกภพสถิต

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ vs. แบบจำลองเอกภพสถิต

แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์; 14 มีนาคม พ.ศ. 2422 – 18 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2428 ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน.. แนวคิดเกี่ยวกับ เอกภพสถิต หรือ เอกภพของไอน์สไตน์ เป็นหนึ่งในแนวคิดที่สนับสนุนว่า อวกาศไม่มีการขยายตัวหรือหดตัว แต่มีลักษณะที่คงที่อยู่เสมอ ครั้งหนึ่ง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เคยเสนอให้เพิ่มค่าคงที่จักรวาลเข้าไปในสมการในทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของเขาเพื่อให้ได้แบบจำลองในลักษณะนี้ เป็นการชดเชยกับผลกระทบเชิงพลศาสตร์ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วง อันจะทำให้เอกภพของสสารสามารถแตกสลายได้ แนวคิดนี้ถูกล้มล้างไปหลังจากที่ เอ็ดวิน ฮับเบิล ค้นพบว่าเอกภพมิได้มีลักษณะคงที่ แต่กำลังขยายตัว เนื่องจากฮับเบิลได้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนไปทางแดงกับระยะห่างระหว่างดาว ซึ่งเป็นรากฐานในการพิจารณาการขยายตัวของอวกาศในวิทยาศาสตร์ยุคใหม่ หมวดหมู่:อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ หมวดหมู่:จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์และแบบจำลองเอกภพสถิต

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์และแบบจำลองเอกภพสถิต มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปค่าคงที่จักรวาล

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

การทดสอบสัมพัทธภาพทั่วไปความเที่ยงสูงโดยยานอวกาศแคสซินี สัญญาณวิทยุที่ส่งระหว่างโลกและยาน (คลื่นสีเขียว) ถูกหน่วงโดยการบิดของปริภูมิ-เวลา (เส้นสีน้ำเงิน) เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์ สัมพัทธภาพทั่วไปหรือทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (general relativity หรือ general theory of relativity) เป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบเรขาคณิตซึ่งอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์จัดพิมพ์ใน..

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ · ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปและแบบจำลองเอกภพสถิต · ดูเพิ่มเติม »

ค่าคงที่จักรวาล

ในการศึกษาจักรวาลวิทยา ค่าคงที่จักรวาล (Cosmological constant; มักเขียนย่อด้วยอักษรกรีกตัวใหญ่ แลมบ์ดา: Λ) คือค่าคงที่ที่นำเสนอโดย อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เพื่อปรับปรุงทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของเขาเองให้สามารถได้ผลสอดคล้องกับแบบจำลองเอกภพสถิตที่ไอน์สไตน์เชื่อ ในภายหลังไอน์สไตน์ก็ละทิ้งแนวคิดนี้ไปหลังจากมีผลสังเกตการณ์การเคลื่อนไปทางแดง ของ เอ็ดวิน ฮับเบิล ซึ่งบ่งชี้ว่าเอกภพไม่ได้มีสภาวะสถิตหรือหยุดนิ่งกับที่ แต่เอกภพกำลังขยายตัว อย่างไรก็ดี การค้นพบ ความเร่งของจักรวาล (cosmic acceleration) ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 ได้รื้อฟื้นความสนใจเกี่ยวกับค่าคงที่จักรวาลขึ้นมาใหม.

ค่าคงที่จักรวาลและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ · ค่าคงที่จักรวาลและแบบจำลองเอกภพสถิต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์และแบบจำลองเอกภพสถิต

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ มี 77 ความสัมพันธ์ขณะที่ แบบจำลองเอกภพสถิต มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.44% = 2 / (77 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์และแบบจำลองเอกภพสถิต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: