โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อักษรจีนและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อักษรจีนและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)

อักษรจีน vs. ฮวงจุ้ย (ศาสตร์)

รูปอักษรจีนของคำว่า "ฮั่นจื้อ"-คันจิ-ฮันจา-ฮั้นถื่อ (漢字 / 汉字 หมายถึง "อักษรจีน") สีแดงเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีน คืออักษรภาพ (logogram) ที่โดยหลัก ๆ ในปัจจุบันใช้สำหรับเขียนภาษาจีน (เรียกว่า ฮั่นจื้อ) และภาษาญี่ปุ่น (เรียกว่า คันจิ) นอกจากนี้ก็ยังใช้เขียนระบบเลขของภาษาอื่นด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดเช่นภาษาเกาหลี (เรียกว่า ฮันจา) และภาษาเวียดนาม (เรียกว่า จื๋อโนม) และยังคงหลงเหลืออยู่ในภาษาเหล่านี้ในบางระดับ อักษรจีนเป็นระบบการเขียนที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่องอันเก่าแก่ที่สุดในโลก นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า การเขียนในจีนที่เก่าสุดเริ่มเมื่อ 957 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนที่เก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี ก่อนพุทธศักราช (ราชวงศ์ซาง) ซึ่งเป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต.. ฮวงจุ้ย (อังกฤษ: Feng Shui ตัวย่อ: 风水 ตัวเต็ม: 風水 พินอิน: fēngshuǐ เฟิงสุ่ย IPA: /fɤŋ ʂueɪ/) หมายถึง สภาวะแวดล้อม หรือการอยู่อาศัยให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ในคติของชาวจีน มีลักษณะใกล้เคียงสถาปัตยกรรมศาสตร์ คำว่า ฮวงจุ้ย มาจากคำว่า ลม(ฮวง)และ น้ำ(จุ้ย) ออกเสียงตามสำเนียง จีนแต้จิ๋ว ฮวงจุ้ย นี้อาศัยหลักการของการไหลเวียนของพลังงานบนผืนโลก (ชี่)โดยเปรียบให้เข้าใจได้ง่ายโดยการเปรียบเทียบกับธรรมชาติของไหลที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ธรรมชาติของลมและธรรมชาติของน้ำ ซึ่งนักพยากรณ์ฮวงจุ้ยที่ดีต้องอ่านพลังงานของชี่ และ แหล่งที่มาของชี่ให้ออก เพื่อเสริมการนำเข้า / ทำลายการปิดกั้น ให้ชี่ที่ดีสามารถเข้าได้ และ ถ่ายเทชี่ที่เสีย / ปิดกั้นไม่ให้ชี่ที่เสียสามารถเข้าสู่สถานที่ที่เราอยู่ได้ ศาสตร์นี้มาจากประเทศจีน ดังนั้นผู้ที่ศึกษาและอาจารย์มักจะมีเครื่องรางที่มาจากจีนมาใช้ในการแก้ ความเป็นจริงแล้ว การสร้างสภาพแวดล้อมตามหลักฮวงจุ้ยนั้น ไม่เหมือนกันเลยในแต่ละเขตของโลก สภาพภูมิอากาศคนละอย่าง ในเรื่องของพิธีกรรมจีนจึงมีบทบาทกับฮวงจุ้ย กับทุกประเทศซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณากัน ในเมืองไทย บ้านเรือนไทยสมัยก่อนจัดว่าถูกหลักของการจัดฮวงจุ้ยที่ถูกต้องในสภาพอากาศนี้ สำหรับในปัจจุบันบ้านเรือนไทยอาจจะไม่เหมาะ เนื่องจากราคาสูง ดังนั้นสถาปนิกที่มีต้องปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรม การจัดตามหลักฮวงจุ้ยนั้นมีการจัดเพื่อการณ์หลายอย่างตามการใช้งานที่เจ้าของอย่างให้เป็น ดังนั้นพื้นที่(space)กับอารมณ์(mood)มีส่วนสำคัญกับงานฮวงจุ้ย อารมณ์ของคน มีส่วนกับดวงชะตา วันเดือนปีเกิด และดวงดาวรวมถึง หลักเชิง จิตวิทยา หมวดหมู่:สถาปัตยกรรม หมวดหมู่:วัฒนธรรมจีน หมวดหมู่:คำจีนแต้จิ๋ว หมวดหมู่:การทำนายดวงชะตา.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อักษรจีนและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)

อักษรจีนและฮวงจุ้ย (ศาสตร์) มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อักษรจีนตัวย่อ

อักษรจีนตัวย่อ

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ภาษาฮั่น หรือ ภาษาจีนกลาง เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ แผนภาพออยเลอร์แสดงกลุ่มของการเปลี่ยนแปลงอักษรจีนตัวเต็มไปเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีนตัวย่อ (เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ) เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวเต็ม หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม) อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

อักษรจีนและอักษรจีนตัวย่อ · อักษรจีนตัวย่อและฮวงจุ้ย (ศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อักษรจีนและฮวงจุ้ย (ศาสตร์)

อักษรจีน มี 23 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฮวงจุ้ย (ศาสตร์) มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.23% = 1 / (23 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อักษรจีนและฮวงจุ้ย (ศาสตร์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »