โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและแอนิเมชัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและแอนิเมชัน

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ vs. แอนิเมชัน

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ (anime music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอเอ็มวี (AMV) เป็นมิวสิกวิดีโอที่ประกอบด้วยคลิปจากแอนิเมชันหรือการ์ตูนญี่ปุ่นมาทำอย่างน้อยหนึ่งชุดเพื่อตั้งค่าให้เป็นเพลง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ มักจะหมายถึงแฟนเมดที่ทำวิดีโออย่างไม่เป็นทางการจะเรียกว่า เอเอ็มวี (AMV) นอกจากนี้ยังสามารถเอาวิดีโอเกมมาทำมิวสิกวิดีโอ โดยเอาภาพที่ถ่ายไว้มาใส่กันโดยใช้เพลงหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันจะเรียกว่า จีเอ็มวี (GMV) เอเอ็มวี ไม่ได้เป็นมิวสิกวิดีโออย่างเป็นทางการที่ออกโดยนักดนตรี แต่เป็นมือสมัครเล่นที่ทำคลิปวิดีโอโดยมีแทร็กเสียง เอเอ็มวี จะมีวางจำหน่ายอย่างเป็นกันเองมากที่สุดส่วนใหญ่มักจะผ่านทางอินเทอร์เน็ต มักจะเรียกประชุมบ่อยหรือการจัดนิทรรศการการประกวด เอเอ็มวี ในขณะที่ตามธรรมเนียม เอเอ็มวี จะใช้วิดีโอจาก อะนิเมะ, เกม ที่นำเอามาทำเป็นวิดีโอโดยมีการเลือกตอนหรือฉากที่ต้องการ และนอกจากนี้ยังเป็นตัวเลือกที่นิยม เพลงที่ใช้ในการทำ เอเอ็มวีจะมีความหลากหลายมากโดยใช้แนวเพลงเช่น เจป็อป, ร็อก, ฮิปฮอป, ป็อป, อาร์แอนด์บี, คันทรี และ อื่น ๆ อีกมากมาย เอเอ็มวี ไม่ได้รวมกับมิวสิกวิดีโอของนักทำแอนิเมชันอย่างมืออาชีพ (เช่นมิวสิกวิดีโอหลายเพลงของวง ไอเอิร์นเมเดน) หรือภาพยนตร์มิวสิกวิดีโอเพลงสั้นๆ (เช่นศิลปินคู่ดูโอของญี่ปุ่น ชะเงะแอนด์อะซะกะ กับเพลง "On Your Mark" ที่ถูกผลิตโดย สตูดิโอจิบลิ) เอเอ็มวีอาจไม่ได้รวมกับแฟนเมดที่ใช้แอนนิเมชันทั่วไปที่ไม่ใช่การ์ตูนญี่ปุ่นแต่จะมีแหล่งของการ์ตูนตะวันตก หรือกับการปฏิบัติของวิดดิง (Vidding) ในแฟนดอมแบบตะวันตก ซึ่งรวมกันการพัฒนาและมีประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกันและวัฒนธรรมแฟน อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ เป็นแนวย่อยนอกเหนือจาก "แอนิเมดิดมิวสิกวิดีโอ" (animated music video) นอกจากยังขนานว่าสามารถถูกเขียนได้ระหว่าง เอเอ็มวี (AMV) และ ซองวิด (Songvid) ที่ไม่ใช่แอนิเมชันที่ทำโดยแฟนเมดโดยใช้ภาพจากภาพยนตร์ซีรีส์โทรทัศน์หรือจากแหล่งที่มาอื่นๆ อะนิเมะมิวสิกวิดีโอได้ถูกทำขึ้นครั้งแรกในปี 1982 โดย จิม คาโปสสตัซ (Jim Kaposztas) อายุ 21 ปี ผู้ซึ่งติดทั้งวีซีอาร์ (เครื่องอัดวิดีโอ) และการตัดต่อที่กำลังใช้จากฉากของการ์ตูนเรื่อง สตาร์ เบลเซอส์ (Star Blazers) ที่ใช้เพลง "ออลยูนีดอิสเลิฟ (All You Need Is Love)" ของเดอะบีเทิลส์ ได้ทำขึ้นมาเพื่อให้ผลแบบตลกขนขัน หนึ่งในอะนิเมะมิวสิกวิดีโอแรกๆที่ประสบความสำเร็จมาจากความนิยมของเพลง "Daytona 500" ในปี 1996 ของนักร้องแร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน โกสต์เฟซ คิลลาห์ โดยใช้การ์ตูนเรื่อง สปีด เรซเซอร์ ในยุค 1960 ซึ่งการ์ตูนเรื่องนั้นได้ถูกนำมาออกอากาศครั้งแรกในช่องโทรทัศน์ภาษาอังกฤษในปี 1968. ตัวอย่างแอนิเมชันของเครื่องจักรรูปทรงวงกลม แอนิเมชัน (animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงโดยการนำภาพนิ่งมาเรียงต่อกัน การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือหรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดหรือสตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้ว ไม่ว่าจะสร้างภาพ หรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่า ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต มีหลายรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช และไฟล์สำหรับเก็บวีดิทัศน์ประเภทอื่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและแอนิเมชัน

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและแอนิเมชัน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและแอนิเมชัน

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอนิเมชัน มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (16 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและแอนิเมชัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »