โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและฮิปฮอป

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและฮิปฮอป

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ vs. ฮิปฮอป

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ (anime music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอเอ็มวี (AMV) เป็นมิวสิกวิดีโอที่ประกอบด้วยคลิปจากแอนิเมชันหรือการ์ตูนญี่ปุ่นมาทำอย่างน้อยหนึ่งชุดเพื่อตั้งค่าให้เป็นเพลง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ มักจะหมายถึงแฟนเมดที่ทำวิดีโออย่างไม่เป็นทางการจะเรียกว่า เอเอ็มวี (AMV) นอกจากนี้ยังสามารถเอาวิดีโอเกมมาทำมิวสิกวิดีโอ โดยเอาภาพที่ถ่ายไว้มาใส่กันโดยใช้เพลงหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันจะเรียกว่า จีเอ็มวี (GMV) เอเอ็มวี ไม่ได้เป็นมิวสิกวิดีโออย่างเป็นทางการที่ออกโดยนักดนตรี แต่เป็นมือสมัครเล่นที่ทำคลิปวิดีโอโดยมีแทร็กเสียง เอเอ็มวี จะมีวางจำหน่ายอย่างเป็นกันเองมากที่สุดส่วนใหญ่มักจะผ่านทางอินเทอร์เน็ต มักจะเรียกประชุมบ่อยหรือการจัดนิทรรศการการประกวด เอเอ็มวี ในขณะที่ตามธรรมเนียม เอเอ็มวี จะใช้วิดีโอจาก อะนิเมะ, เกม ที่นำเอามาทำเป็นวิดีโอโดยมีการเลือกตอนหรือฉากที่ต้องการ และนอกจากนี้ยังเป็นตัวเลือกที่นิยม เพลงที่ใช้ในการทำ เอเอ็มวีจะมีความหลากหลายมากโดยใช้แนวเพลงเช่น เจป็อป, ร็อก, ฮิปฮอป, ป็อป, อาร์แอนด์บี, คันทรี และ อื่น ๆ อีกมากมาย เอเอ็มวี ไม่ได้รวมกับมิวสิกวิดีโอของนักทำแอนิเมชันอย่างมืออาชีพ (เช่นมิวสิกวิดีโอหลายเพลงของวง ไอเอิร์นเมเดน) หรือภาพยนตร์มิวสิกวิดีโอเพลงสั้นๆ (เช่นศิลปินคู่ดูโอของญี่ปุ่น ชะเงะแอนด์อะซะกะ กับเพลง "On Your Mark" ที่ถูกผลิตโดย สตูดิโอจิบลิ) เอเอ็มวีอาจไม่ได้รวมกับแฟนเมดที่ใช้แอนนิเมชันทั่วไปที่ไม่ใช่การ์ตูนญี่ปุ่นแต่จะมีแหล่งของการ์ตูนตะวันตก หรือกับการปฏิบัติของวิดดิง (Vidding) ในแฟนดอมแบบตะวันตก ซึ่งรวมกันการพัฒนาและมีประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกันและวัฒนธรรมแฟน อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ เป็นแนวย่อยนอกเหนือจาก "แอนิเมดิดมิวสิกวิดีโอ" (animated music video) นอกจากยังขนานว่าสามารถถูกเขียนได้ระหว่าง เอเอ็มวี (AMV) และ ซองวิด (Songvid) ที่ไม่ใช่แอนิเมชันที่ทำโดยแฟนเมดโดยใช้ภาพจากภาพยนตร์ซีรีส์โทรทัศน์หรือจากแหล่งที่มาอื่นๆ อะนิเมะมิวสิกวิดีโอได้ถูกทำขึ้นครั้งแรกในปี 1982 โดย จิม คาโปสสตัซ (Jim Kaposztas) อายุ 21 ปี ผู้ซึ่งติดทั้งวีซีอาร์ (เครื่องอัดวิดีโอ) และการตัดต่อที่กำลังใช้จากฉากของการ์ตูนเรื่อง สตาร์ เบลเซอส์ (Star Blazers) ที่ใช้เพลง "ออลยูนีดอิสเลิฟ (All You Need Is Love)" ของเดอะบีเทิลส์ ได้ทำขึ้นมาเพื่อให้ผลแบบตลกขนขัน หนึ่งในอะนิเมะมิวสิกวิดีโอแรกๆที่ประสบความสำเร็จมาจากความนิยมของเพลง "Daytona 500" ในปี 1996 ของนักร้องแร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน โกสต์เฟซ คิลลาห์ โดยใช้การ์ตูนเรื่อง สปีด เรซเซอร์ ในยุค 1960 ซึ่งการ์ตูนเรื่องนั้นได้ถูกนำมาออกอากาศครั้งแรกในช่องโทรทัศน์ภาษาอังกฤษในปี 1968. ปฮอป (Hip Hop) หรืออาจเขียนเป็น ฮิป-ฮอป (Hip-hop) มีความหมายถึงในด้านดนตรีแนวฮิปฮอป ที่เป็นที่นิยมสำหรับวัยรุ่นอเมริกาและทั่วโลก จนถูกยกระดับให้เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งมีรากฐานการพัฒนามาจากชาวแอฟริกัน-อเมริกัน และ ชาวละติน โดยในช่วงยุค 70' หลังจากที่ดนตรีดิสโก้ที่พัฒนามาจาก แนวเพลงฟังค์ ในแบบของโมทาวน์ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทำให้มีการเปิดแผ่นเพลงในคลับต่าง ๆ และด้วยการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เกิดการสร้าง loop, beat ใหม่ ๆ ขึ้นมา ดนตรีฮิปฮอป จึงถือกำเนิดขึ้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและฮิปฮอป

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและฮิปฮอป มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ริทึมแอนด์บลูส์ร็อกแร็ป

ริทึมแอนด์บลูส์

ริทึมแอนด์บลูส์ (rhythm and blues หรือรู้จักกันในชื่อ R&B หรือ RnB) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยม โดยผสมผสานระหว่างเพลงแนว แจ๊ส กอสเปล และบลูส์ โดยเริ่มแรกจะเล่นโดยศิลปินแอฟริกัน-อเมริกัน.

ริทึมแอนด์บลูส์และอะนิเมะมิวสิกวิดีโอ · ริทึมแอนด์บลูส์และฮิปฮอป · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ร็อกและอะนิเมะมิวสิกวิดีโอ · ร็อกและฮิปฮอป · ดูเพิ่มเติม »

แร็ป

แร็ปเปอร์ (Rapper) คือการพูดในลักษณะคำกลอนลงจังหวะเพลง โดยส่วนใหญ่จะใช้จังหวะเร็ว เป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบของวัฒนธรรมฮิปฮอปและเป็นฉันทลักษณ์สมัยนิยม แร็ปเป็นการร้องแบบที่เป็นจังหวะ การร้องคล้ายเสียงพูด และเนื้อหาของเพลงที่มีความหมายและมีความคล้องจองกัน รวมทั้งเน้นที่การกำกับจังหวะ โดยใช้จังหวะกลองอิเล็กทรอนิกส์ และเทคนิคการ Sampling งานเพลงอื่น ๆ การแร็ปได้พัฒนาทั้งภายในและนอก ของดนตรีแนวฮิปฮอป Kool Herc ชาวจาไมก้าในนิวยอร์กได้เริ่มการพูดลงบนเพลงประเภทแดนซ์ฮอลล์ ในทศวรรษที่ 70 จนในทศวรรษที่ 80 ความสำเร็จของวงรัน-ดีเอ็มซี ได้เปิดกว้างให้วงการเพลงแร็ป พอถึงปลายยุคทศวรรษที่ 90 ฮิปฮอปได้ก้าวเข้าสู่กระแสหลัก ในยุค 2000 ฮิปฮอปใต้ดินเริ่มจะมีการใช้จังหวะที่สลับซับซ้อนมากขึ้น ท้วงทำนองในการพูด เนื้อคำกลอนที่ซับซ้อน และการเล่นคำอย่างสร้างสรรค์ เนื้อเพลงแร็ปมักถ่ายทอดชีวิตบนถนนที่เป็นที่มาของฮิปฮอป ผนวกกับอ้างอิงถึงวัฒนธรรมกระแสนิยม และคำสแลงฮิปฮอปต่าง ๆ ศิลปินเพลงแร็ปชื่อดังของโลก ได้แก่ 2pac, Eminem, N.W.A, Kanye West, Drake, J.Cole, Nicki Minaj.

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและแร็ป · ฮิปฮอปและแร็ป · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและฮิปฮอป

อะนิเมะมิวสิกวิดีโอ มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฮิปฮอป มี 33 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 6.12% = 3 / (16 + 33)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อะนิเมะมิวสิกวิดีโอและฮิปฮอป หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »