โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อะนิเมะและโมะเอะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง อะนิเมะและโมะเอะ

อะนิเมะ vs. โมะเอะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว. มะเอะ เป็นศัพท์สแลงในภาษาญี่ปุ่น มีความหมายถึงความรักความชอบหรืออารมณ์ทางเพศที่มีต่อตัวละครในมังงะ อะนิเมะ หรือวิดีโอเกม ที่มาของคำว่า "โมะเอะ" ไม่แน่ชัด บางที่กล่าวว่ามาจากชื่อตัวละครในการ์ตูนญี่ปุ่น (เช่น โทโมเอะ โฮตารุ จากเรื่อง เซเลอร์มูน หรือ ซางิซาวะ โมเอะ จากเรื่อง Kyoryu Wakusei) ในขณะที่บางแห่งกล่าวว่า เกิดจากการเล่นคำจากคำว่า "โมะเอะรุ" ที่แปลว่า "เผาไหม้" กล่าวคือตัวละครที่เป็นโมะเอะทำให้เกิด "เพลิงพิศวาส" ขึ้นในใจของผู้ชมนั่นเอง ทะมะกิ ไซโต (Saitou Tamaki) นักจิตวิทยาผู้ศึกษาพฤติกรรมของโอะตะกุ (บุคคลที่คลั่งไคล้การ์ตูน) เห็นว่าโมะเอะมีความหมายตรงตัว แปลว่าการ "แตกหน่อ" หรือ "แรกงอก" ของพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้กับคนจะหมายถึงตัวละครเด็กวัยกระเตาะ (มักเป็นผู้หญิง) ที่ยังไม่เติบโตเต็มที่ ต้องพึ่งพาคนอื่น ทำให้ผู้ชมการ์ตูนอยากปกป้องดูแล จนถึงขั้นหลงรักได้ในที.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง อะนิเมะและโมะเอะ

อะนิเมะและโมะเอะ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาญี่ปุ่นมังงะเซเลอร์มูน

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ภาษาญี่ปุ่นและอะนิเมะ · ภาษาญี่ปุ่นและโมะเอะ · ดูเพิ่มเติม »

มังงะ

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น.

มังงะและอะนิเมะ · มังงะและโมะเอะ · ดูเพิ่มเติม »

เซเลอร์มูน

ซเลอร์มูน (Sailor Moon) เป็นชื่อของการ์ตูนญี่ปุ่นสำหรับผู้หญิง วาดโดยนาโอโกะ ทาเคอุจิ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารนาคาโยชิ ของสำนักพิมพ์โคดันฉะ ประเทศญี่ปุ่น ส่วนฉบับรวมเล่มมีความยาว 18 เล่มจบ อีกทั้งยังมีการ์ตูนที่แตกออกจากเรื่องนี้อีกมากมาย รวมทั้งนำเสนอในสื่อหลายประเภท เป็นต้นว่า ภาพยนตร์อะนิเมะ, ละครเวที, เกม และละครโทรทัศน์ แนวโทคุซัทสึ.

อะนิเมะและเซเลอร์มูน · เซเลอร์มูนและโมะเอะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง อะนิเมะและโมะเอะ

อะนิเมะ มี 46 ความสัมพันธ์ขณะที่ โมะเอะ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 5.56% = 3 / (46 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อะนิเมะและโมะเอะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »