โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

องเนอชองช์ปา (เพลง)

ดัชนี องเนอชองช์ปา (เพลง)

"องเนอชองช์ปา" (On ne change pas, "พวกเราจะไม่เปลี่ยนแปลง") คือซิงเกิลที่ 3 และซิงเกิลทางการค้าสุดท้ายของเซลีน ดิออนจากอัลบั้มซีลซูฟฟีเซแดมเม ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2542 ในบางประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส เพลงนี้เป็นอีกเพลงหนึ่งที่เป็นผลงานการประพันธ์และอำนวยการสร้างโดยชอง-ชาก โกลด์แมน เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "องเนอชองช์ปา" (พ.ศ. 2542) มิวสิกวิดีโอเพลง "องเนอชองช์ปา" อำนวยการสร้างโดย Gilbert Namiand ในปี..

19 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2548มิวสิกวิดีโออีพิกเรเคิดส์องเนอชองช์ปาองเนอชองช์ปา (วิดีโอ)ซิงเกิลซีลซูฟฟีเซแดมเมซีลซูฟฟีเซแดมเม (เพลง)ซีดีซิงเกิลประเทศฝรั่งเศสประเทศเบลเยียมป็อปโอเกอร์ดูสตาด (วิดีโอ)โคลัมเบียเรเคิดส์เดอะเพรร์เซลีน ดิออน1 มีนาคม

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

อีพิกเรเคิดส์

อีพิกเรเคิดส์ คือบริษัทบันทึกเสียงในเครือโซนี่ บีเอ็มจี ในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และอีพิกเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

องเนอชองช์ปา

องเนอชองช์ปา (On ne change pas, "เราไม่เปลี่ยนแปลง") คืออัลบั้มรวบรวมเพลงยอดนิยมของเซลีน ดิออนที่รวบรวมขึ้นหลังการทำงานในฐานะนักร้องของเธอครบ 25 ปี อัลบั้มนี้เป็นอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมภาษาฝรั่งเศสอัลบั้มแรกของเธอ องเนอชองช์ปา คืออัลบั้มภาษาฝรั่งเศสที่ 22 และ 33 เมื่อนับรวมอัลบั้มภาษาอังกฤษด้วย วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และองเนอชองช์ปา · ดูเพิ่มเติม »

องเนอชองช์ปา (วิดีโอ)

องเนอชองช์ปา (On ne change pas) คือสื่อวีดิทัศน์ลำดับที่ 7 ของเซลีน ดิออน เป็นการรวมรวมมิวสิกวิดีโอเพลงภาษาฝรั่งเศสในรูปแบบดีวีดี วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 การรวมมิวสิกวิดีโอ และการแสดงคอนเสิร์ตภาษาฝรั่งเศสของเซลีนครั้งนี้เป็นครั้งแรกของที่ออกจำหน่ายในรูปแบบดีวีดี และยังมีเพิ่มเติม อาทิ เบื้องหลังการสร้างมิวสิกวิดีโอเพลง "กงตร์นาตูร์", เบื้อหลังการบันทึกเสียงอัลบั้ม เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ เป็นต้น รวมแล้วกว่า 1 ชั่วโมงอีกด้วย เซลีน กับมิวสิกวิดีโอ "เชอเนอวูอูบลีปา" (ปี พ.ศ. 2548) อย่างไรก็ตามดีวีดีนี้ไม่ได้รวมเพลง "Délivre-moi," "Ne partez pas sans moi" และ "เชอลุยดีเร" องเนอชองเช่ปา ขึ้นชาร์ตมิวสิกวิดีโอภาษฝรั่งเศสในอันดับที่ 5 และอยู่ในชาร์ตนานกว่า 30 สัปดาห์ ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำขาว 3 แผ่น สำหรับยอดขายกว่า60,000 แผ่น และขึ้นสู่อันดับ 11 ในชาร์ตดีวีดีอิตาเลียน ทุกเพลงที่อยู่ในดีวีดีนี้ ได้รวบรวมในรูปแบบอัลบั้มเพลง ในอัลบั้ม องเนอชองช์ปา ออกจำหน่าย 3 ตุลาคม พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และองเนอชองช์ปา (วิดีโอ) · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเกิล

ทกกิงแชนเซส ของเซลีน ดิออน แบบซีดีซิงเกิล ซิงเกิล (Single นิยมอ่านว่า ซิงเกิล) ในทางดนตรีคือการบันทึกอย่างสั้นอย่างน้อย 1 เพลง ซึ่งออกจำหน่ายในรูปแบบที่แตกต่างกัน.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และซิงเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ซีลซูฟฟีเซแดมเม

ำหรับเพลงในชื่อเรียกเดียวกันนี้ ดูบทความที่ ซีลซูฟฟีเซแดมเม (เพลง) ซีลซูฟฟีเซแดมเม (S'il suffisait d'aimer) คืออัลบั้มโดยเซลีน ดิออน ภาษาฝรั่งเศส วางแผงเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2541ซึ่งเป็นอัลบั้มภาษาฝรั่งเศสที่ 19 และอัลบั้มที่ 24 ในทั้งหมด ในสหรัฐอเมริกาใช้ชื่ออัลบั้มว่า S'il suffisait d'aimer / If Only Love Could Be Enough.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และซีลซูฟฟีเซแดมเม · ดูเพิ่มเติม »

ซีลซูฟฟีเซแดมเม (เพลง)

"ซีลซูฟฟีเซแดมเม" (S'il suffisait d'aimer, "ถ้าความรักเพียงเท่านั้นเท่าเพียงพอ") คือซิงเกิลที่ 2 ของเซลีน ดิออนจากอัลบั้มซีลซูฟฟีเซแดมเม ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส และเป็นซิงเกิลหนึ่งที่ประสบความสำเร็จมากในอัลบั้มนี้ เพลงนี้ประพันธ์และอำนวยการสร้างโดยชอง-ชาก โกลด์แมน เซลีนในมิวสิกวิดีโอเพลง "ซีลซูฟฟีเซแดมเม" (พ.ศ. 2541) มิวสิกวิดีโอฉบับร้องสดเพลง "ซีลซูฟฟีเซแดมเม" เป็นผลงานการอำนวยการสร้างของ Yannick Saillet ระหว่างการจัดคอนเสิร์ตทัวร์เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ และต่อมาได้บรรจุลงใน''ดีวีดีองเนอชองช์ปา'' ซิงเกิลนี้วางจำหน่ายในยุโรป ขึ้นอันดับที่ 4 ในฝรั่งเศส, 6 ในเบลเยี่ยม และ 19 ในยุโรป ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำ (262,000 แผ่น) และเบลเยี่ยม (25,000 แผ่น) ฉบับร้องสดเพลง "ซีลซูฟฟีเซแดมเม" พบได้ใน ''ดีวีดีอูร์เกอร์ดูสตาด'' เพลงนี้ได้บรรจุลงในอัลบั้มรวมเพลงยอดนิยมภาษาฝรั่งเศสของเซลีน ดิออนในปี..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และซีลซูฟฟีเซแดมเม (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ซีดีซิงเกิล

ซิงเกิลซีดี (CD single) คือซิงเกิลเพลงในรูปแบบซีดี ทั้งนี้ไม่นับรวมถึงซีดีขนาด 3 นิ้ว รูปแบบนี้ได้นำมาใช้กลางคริสต์ทศวรรษที่ 1980 แต่ไม่ได้นำมาใช้กับการตลาดจนกระทั่งในปีคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ซิงเกิลของ Dire Straits ในเพลง "Brothers in Arms" (พ.ศ. 2528) เป็นซิงเกิลรูปแบบซีดีซิงเกิลแรก ซึ่งได้ออกจำหน่ายในสหราชอาณาจักร ซิงเกิลแผ่น 3 นิ้วหรือ 8 เซนติเมตร เริ่มนำมาใช้ในปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1980 แต่ประสพความสำเร็จน้อยมากในสหรัฐอเมริกา แต่ประสบความสำเร็จอย่างมากในญี่ปุ่น เมื่อไม่นานมานี้ยุโรปได้ออกจำหน่ายรูปแบบซีดี 3 นิ้วนี้ โดยใช้ชื่อว่าซีดี "พอกอิท" ("Pock it").

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และซีดีซิงเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และป็อป · ดูเพิ่มเติม »

โอเกอร์ดูสตาด (วิดีโอ)

ำหรับอัลบั้มในชื่อเรียกเดียวกันนี้ ดูบทความที่ โอเกอร์ดูสตาด "โอเกอร์ดูสตาด" (Au cœur du stade) คือผลงานดีวีดี/วิดีโอที่ 5 ของเซลีน ดิออน คอนเสิร์ต 90 นาทีนี้ถูกบันทึกที่การแสดงสด สตาดเดอฟรานซ์ ในปารีส ขณะจัดคอนเสิร์ตทัวร์เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ บันทึกภาพเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2542 และวางจำหน่ายเมื่อ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 "ทูเลิฟยูมอร์" แสดงพร้อมด้วยทาโร ฮากาสะผู้เล่นไวโอลิน ชอง-ชาก โกลด์แมนแสดงร่วมกับเซลีน ดิออนกับเพลง "ชีเรอูตูอีรา" และ Barnev Valsaint (สมาชิกของวง) ในบทเพลง "แอมยัวร์แองเจิล" ไดอานา คิงมีรูปภาพทางจอขนาดใหญ่ในบทเพลง "ทรีดเฮอไลค์อะเลดี้." และบทเพลงพิเศษที่เซลีนร้องให้วง บีจีส์ คือ "Stayin' Alive" และ "You Should Be Dancing." และการแสดงเพลง "เทลฮิม" กับ บาบรา สตรัยซัน บนจอภาพขนาดใหญ่แต่ตัดออกจากการบันทึกลงดีวีดี โอเกอร์ดูสตาด ยังประกอบไปด้วยเบื้องหลังสุดพิเศษอย่าง เบื้องหลังของอัลบั้ม ซีลซูฟฟีเซแดมเม และ เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ ซึ่งประกอบไปด้วยแขกพิเศษอย่าง เซอร์จอร์จมาร์ตินและภาพเบื้องหลังที่หาชมได้ยากของเซลีน, บาบรา สตรัยซัน, เดวิด ฟอสเตอร์, และมิวสิกวิดีโอในเพลง "เทลฮิม" "โอเกอร์ดูสตาด" ได้รับการรับรองในสถานะไดมอนด์ ในฝรั่งเศสจากยอกขายกว่า 100,000 แผ่น ในชาร์ตวิดีโอเพลง และตำแหน่งสูงสุดตั้งแต่กันยายน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และโอเกอร์ดูสตาด (วิดีโอ) · ดูเพิ่มเติม »

โคลัมเบียเรเคิดส์

โคลัมเบียเรเคิดส์ เป็นเครื่องหมายการค้าในการบันทึกเสียง (ค่ายเพลง) ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังเหลือในปัจจุบัน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2431 หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2431.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และโคลัมเบียเรเคิดส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเพรร์

"เดอะเพรร์" (The Prayer, "อธิษฐาน") คือซิงเกิลร้องคู่ระหว่างเซลีน ดิออน และอานเดรอา โบเชลลี เป็นซิงเกิลที่ 2 ของเซลีน ดิออน จากอัลบั้ม ดีสอาร์สเปเชียลไทมส์ และซิงเกิลแรกของอานเดรอา โบเชลลี จากอัลบั้ม ซอกโน ซึ่งออกมาในรูปแบบเพื่อการประชาสัมพันธ์เท่านั้น เริ่มเผยแพร่ในวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2542 "เดอะเพรร์" ชนะเลิศรางวัลโกลเดนโกลป (Golden Globe) สำหรับด้านเพลงต้นฉบับยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง เควสท์ฟอร์คาเมลอต (Quest for Camelot) ซึ่งออกฉายในปี..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และเดอะเพรร์ · ดูเพิ่มเติม »

เซลีน ดิออน

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com. (2008, 18 May). Celine To Receive the French Legion of Honor Medal.. Available:. (22 May 2008).) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักร้อง นักประพันธ์ดนตรี และนักแสดงชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส เซลีนเกิดในครอบครัวใหญ่ เริ่มต้นการเป็นนักร้องโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส หลังจากที่เรอเน อองเชลีล ผู้จัดการส่วนตัวของเธอ (ต่อมาคือสามี) จำนองบ้านของเขาเพื่อเป็นทุนในการออกอัลบั้ม ลาวัวดูบองดีเยอ อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสชุดแรก "Canoe Jam!" สืบค้นวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องเนอชองช์ปา (เพลง)และ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

On ne change pas (song)องเนอชองเช่ปา (เพลง)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »