สารบัญ
21 ความสัมพันธ์: ชลาศัย ขวัญฐิติพ.ศ. 2478พ.ศ. 2511พ.ศ. 2532พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุพันธุ์สวลี กิติยากรรังษีนภดล ยุคลราชวงศ์จักรีวิทยุสื่อสารหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคลหม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลตติยจุลจอมเกล้านักวิทยุสมัครเล่นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า11 ตุลาคม27 สิงหาคม
ชลาศัย ขวัญฐิติ
ลาศัย ขวัญฐิติ หรือชื่อเดิมว่า หม่อมชลาศัย ยุคล ณ อยุธยา ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น คูณมาศ ขวัญฐิติ และ โชติกา ขวัญฐิติ มีชื่อแต่แรกเกิดว่า นิภาพร รอดอ่อน เป็นที่รู้จักในชื่อ หม่อมลูกปลา (ประมาณ พ.ศ.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและชลาศัย ขวัญฐิติ
พ.ศ. 2478
ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและพ.ศ. 2478
พ.ศ. 2511
ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและพ.ศ. 2511
พ.ศ. 2532
ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและพ.ศ. 2532
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและพ.ศ. 2537
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและพ.ศ. 2538
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ (พระนามเดิม: หม่อมหลวงโสมสวลี กิติยากร; ประสูติ: 13 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
พันธุ์สวลี กิติยากร
ท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าพันธุ์สวลี ยุคล; ประสูติ: 24 กันยายน พ.ศ. 2476) ภริยาของหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร เป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และพระอัยยิกาในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา พระราชนัดดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและพันธุ์สวลี กิติยากร
รังษีนภดล ยุคล
ณหญิงรังษีนภดล ยุคล (2 ตุลาคม พ.ศ. 2480 - 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) (นามเดิม: หม่อมเจ้ารังษีนภดล ยุคล) มีนามลำลองคือ ท่านหญิงอ๋อย เป็นพระธิดาองค์เล็กของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กับหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและรังษีนภดล ยุคล
ราชวงศ์จักรี
ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและราชวงศ์จักรี
วิทยุสื่อสาร
วิทยุสื่อสาร หรือเรียกอีกชื่อว่า วิทยุคมนาคม เป็นอุปกรณ์ที่แปลงกระแสไฟฟ้าเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบเป็น ภาครับ และ ภาคส่ง แผ่กระจายคลื่นวิทยุออกทางสายอากาศ เป็นเครื่องมือในการสื่อสารชนิดกึ่งสองทาง ถูกนำมาใช้งานในหลายประเภท เช่น วิทยุราชการ วิทยุสมัครเล่น และวิทยุภาคประชาชน เป็นต้น ทำงานโดยแปลงกระแสไฟฟ้าเป็นคลื่นแม่เหล็กแบ่งเป็นภาครับ และภาคส่งแผ่กระจายคลื่นวิทยุออกทางสายอากาศ คลื่นวิทยุ คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ถูกคิดค้นโดยเจมส์แมกซ์เวลล์ (James c.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและวิทยุสื่อสาร
หม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล
หม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล ท..ว.(ราชสกุลเดิม: สนิทวงศ์; 4 ตุลาคม พ.ศ. 2452 — 28 ธันวาคม พ.ศ. 2527) คุณท่านเป็นหม่อมเอกในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หม่อมหลวงสร้อยระย้าเป็นธิดาของหม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ กับยี่สุ่น สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม มังกรพันธ์) เสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล
หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคล
หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคล หรือ ท่านกบ (11 ตุลาคม พ.ศ. 2478 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2538) แห่งวังอัศวิน.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและหม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคล
ตติยจุลจอมเกล้า
วงตราเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น'''ตติยจุลจอมเกล้า''' ฝ่ายหน้า ตติยจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ต..
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและตติยจุลจอมเกล้า
นักวิทยุสมัครเล่น
"นักวิทยุสมัครเล่น" ภาษาอังกฤษเรียกว่า "amateur radio operator" หมายถึงบุคคลที่ได้รับใบอนุญาตการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นจากรัฐบาลหรือจากผู้ที่มีอำนาจของแต่ละประเทศ นักวิทยุสมัครเล่นจะใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในสถานีของนักวิทยุสมัครเล่นสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างนักวิทยุสมัครเล่นที่ได้รับอนุญาตเช่นเดียวกัน รวมทั้งใช้ความถี่ที่กำหนดให้เฉพาะกิจการวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น ซึ่งการใช้งานจะต้องเป็นตามเงื่อนไขที่ได้รับอนุญาต นักวิทยุสมัครเล่นจะได้รับการกำหนดสัญญาณเรียกขาน เพื่อระบุตัวตนในการติดต่อสื่อสาร ปัจจุบันมีนักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกประมาณ 3 ล้านคน นักวิทยุสมัครเล่นมักเรียกตัวเองว่า "ham" สำหรับที่มาของคำว่า "ham" นั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าเริ่มใช้ตั้งแต่เมื่อใด และนักวิทยุสมัครเล่นมักจะเรียกหรือกล่าวถึงนักวิทยุสมัครเล่นที่เสียชีวิตว่า "silent key".
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและนักวิทยุสมัครเล่น
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
11 ตุลาคม
วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและ11 ตุลาคม
27 สิงหาคม
วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.
ดู หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคลและ27 สิงหาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ฐิติพันธุ์ ยุคลหม่อมเจ้าฐิติพันธ์ ยุคล