เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

หมึกกล้วยและแอมโมไนต์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง หมึกกล้วยและแอมโมไนต์

หมึกกล้วย vs. แอมโมไนต์

ลื่อนไหวของหมึกหอม หมึกกล้วย เป็นมอลลัสคาประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Teuthida. แอมโมไนต์ แบบต่างๆ แอมโมไนต์ (Ammonite) เป็นสัตว์ประเภทนอติลอยด์ชนิดหนึ่ง มนุษย์ในอดีตพบมันมานานแล้ว แต่ยังไม่ทราบว่าเป็นอะไร มนุษย์ในยุคนั้นคิดว่ามันเป็นซากของงู ที่ตายและคดตัวเป็นวงกลม แอมโมไนต์พบได้หลายที่บนโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย มันมีอยู่หลากหลายชนิด และพบได้ทั่วไปในทะเลดึกดำบรรพ์ จนกระทั่งมันสูญพันธุ์ไปพร้อมกับไดโนเสาร์ เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ในช่วงปลายยุคครีเทเชียส แอมโมไนต์วิวัฒนาการไปเป็น ปลาหมึก หอย และ หอยงวงช้าง แอมโมไนต์มีขนาดตั้งแต่ 23 เซนติเมตร (9 นิ้ว) ไปจนถึง 2 เมตร แอมโมไนต์เป็นสัตว์พวกหอยโบราณ ที่เกิดในมหายุคพาลีโอโซอิกจนถึงมหายุคมีโสโซอิกอาศัยในทะเล ปัจจุบันพวกที่สืบทอดมาได้แก่ ปลาหมึกกล้วย ปลาหมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง หมวดหมู่:ซากดึกดำบรรพ์.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง หมึกกล้วยและแอมโมไนต์

หมึกกล้วยและแอมโมไนต์ มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชั้นเซฟาโลพอดการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์มอลลัสกายุคครีเทเชียสสัตว์นอติลอยด์

ชั้นเซฟาโลพอด

ั้น เซฟาโลพอด (Cephalopod) เป็นชั้นในไฟลัมมอลลัสคา เซฟาโลพอดมีลักษณะเด่นตรงที่ร่างกายสมมาตร มีส่วนศีรษะเด่นออกมา การดัดแปลงส่วนเท้าของมอลลัสคา (muscular hydrostat) ไปเป็นแขนหรือหนว.

ชั้นเซฟาโลพอดและหมึกกล้วย · ชั้นเซฟาโลพอดและแอมโมไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ หรือ การจำแนกชั้นทางชีววิทยา (Systematics) หมายถึงการจัดกลุ่มและหมวดหมู่สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่สูญพันธุ์ไปแล้ว การจำแนกในยุคปัจจุบันอาศัยรากฐานจากระบบการจำแนกของ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ผู้จัดกลุ่มสปีชีส์ต่าง ๆ โดยดูจากลักษณะเฉพาะทางกายภาพ การจัดกลุ่มแบบนี้ได้มีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับหลักดาร์วิน ส่วนมากเป็นผลมาจากการศึกษาอนุกรมวิธานระดับโมเลกุลด้วยการวิเคราะห์จีโนม ในการแบ่งอย่างกว้างๆจะแบ่งได้ 2 ระดับ คือ ลำดับขั้นสูง และ ลำดับขั้นต่ำ.

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์และหมึกกล้วย · การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์และแอมโมไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

มอลลัสกา

มอลลัสกา (ไฟลัม: Mollusca, เสียงอ่าน) เป็นไฟลัมหนึ่งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง คือสัตว์ที่มีลำตัวนิ่ม ส่วนใหญ่มีเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอก พบทั้งบนบก น้ำจืด น้ำเค็ม น้ำกร่อย ดำรงชีวิตเป็นอิสระ มีต่อมเมือกตามผิวลำตัว ระบบอวัยวะมีความซับซ้อน ลำตัวสั้น ด้านหน้าเป็นส่วนหัว ด้านล้างเป็นแผ่นเท้าสำหรับเคลื่อนที่และว่ายน้ำ ด้าบบนมีแมนเทิลที่ทำหน้าที่สร้างเปลือกแข็ง ภายในช่องปากมีแรดูลา ยกเว้นในหอยสองฝา ช่วยในการกินอาหาร มีต่อมน้ำลายและตับช่วยสร้างน้ำย่อย ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจอยู่ด้านบนและเส้นเลือดไปตามส่วนต่างๆ ระบบขับถ่ายมีเนฟริเดียม ระบบหายใจประกอบด้วยเหงือกหรือถุงหายใจที่คล้ายปอด ระบบประสาทมีปมประสาทสามคู่และมีเส้นประสาทยึดระหว่างปม มีอวัยวะสำหรับรับภาพ กลิ่นและการทรงตัว ระบบสืบพันธุ์ส่วนใหญ่แยกเพศ มีบางพวกไม่แยกเพศและเปลี่ยนเพศได้ มีการปฏิสนธิทั้งแบบภายในและภายนอก สัตว์ในไฟลัมมอลลัสกาเรียกโดยรวมว่า มอลลัสก์ (mollusc, mollusk).

มอลลัสกาและหมึกกล้วย · มอลลัสกาและแอมโมไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคครีเทเชียส

ูแรสซิก←ยุคครีเทเชียส→ยุคพาลีโอจีน ยุคครีเทเชียส (Cretaceous) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก อยู่ในมหายุคมีโซโซอิก ยุคครีเทเชียสอยู่ถัดจากยุคจูแรสซิก คือประมาณ 145.5 ± 4.0 ล้านปีก่อน และอยู่ก่อนหน้ายุคพาลีโอจีน หรือประมาณ 65.5 ล้านปีก่อนถึง 23.03 ล้านปีก่อน ถือเป็นยุคที่ยาวนานที่สุดและกินเวลาเกือบครึ่งหนึ่งของมหายุคมีโซโซอิก จุดสิ้นสุดของยุคครีเทเชียสเป็นรอยต่อระหว่างมหายุคมีโซโซอิกกับมหายุคซีโนโซอิก ชื่อ ครีเทเชียส มาจากภาษาลาติน creta แปลว่าชอล์ก ยุคนี้กำหนดโดยนักธรณีวิทยาชาวเบลเยียม ฌ็อง โดมาลิวส์ ดัลลัว (Jean d'Omalius d'Halloy) เมื่อ ค.ศ. 1822 โดยอาศัยชั้นหินในแอ่งปารีส และตั้งชื่อดังกล่าวจากปริมาณชาล์ก ซึ่งเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในทะเล โดยเฉพาะค็อคโคลิท ที่พบในยุคครีเทเชียสตอนบน ในทวีปยุโรปและบนเกาะอังกฤษ ยุคครีเทเชียสเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของไดโนเสาร์ และเมื่อปลายยุคครีเทเชียสเมื่อ 65 ล้านปีก่อน เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ทำให้สิ่งมีชีวิตถึง 94% สูญพันธุ์ ซึ่งรวมถึงไดโนเสาร์ด้ว.

ยุคครีเทเชียสและหมึกกล้วย · ยุคครีเทเชียสและแอมโมไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์

ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

สัตว์และหมึกกล้วย · สัตว์และแอมโมไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

นอติลอยด์

นอติลอยด์ คือกลุ่มของหอยทะเล (ไฟลั่มมอลลัสก้า) ในชั้นย่อย นอติลอยดี ที่มีเปลือกห่อหุ้มภายนอกที่รู้จักกันดีคือหอยงวงช้างในปัจจุบัน (Nautilus spp.) พบปรากฏโดดเด่นในช่วงต้นของมหายุคพาลีโอโซอิกในฐานะสัตว์นักล่าโดยได้พัฒนาเปลือกกระดองทั้งรูปแบบและรูปร่างที่หลากหลาย พบเป็นซากดึกดำบรรพ์ประมาณ 2,500 ชนิด แต่อยู่รอดมาจนถึงปัจจุบันเพียง 6 ชนิดเท่านั้น.

นอติลอยด์และหมึกกล้วย · นอติลอยด์และแอมโมไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง หมึกกล้วยและแอมโมไนต์

หมึกกล้วย มี 32 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอมโมไนต์ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 13.64% = 6 / (32 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง หมึกกล้วยและแอมโมไนต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: