โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หมึกกล้วยและหมึกไดมอนด์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง หมึกกล้วยและหมึกไดมอนด์

หมึกกล้วย vs. หมึกไดมอนด์

ลื่อนไหวของหมึกหอม หมึกกล้วย เป็นมอลลัสคาประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Teuthida. หมึกไดมอนด์ (Diamond squid, Diamondback squid) เป็นหมึกประเภทหมึกกล้วยชนิดหนึ่ง หมึกไดมอนด์ เป็นหมึกกล้วยที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง สามารถโตเต็มที่ยาวได้ถึง 100 เซนติเมตร และมีน้ำหนักได้มากถึง 30 กิโลกรัม แต่น้ำหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 20 กิโลกรัม หมึกไดมอนด์เป็นหมึกน้ำลึกอาศัยอยู่ในระดับน้ำที่มีความลึกกว่า 200 เมตร นับเป็นหมึกที่ไม่ค่อยจะพบเห็นได้บ่อยนัก มีจุดเด่น คือ มีหนวดสองเส้นมีลักษณะแผ่ออกคล้ายกับครีบหรือระบาย เมื่ออยู่ในน้ำลึกหรือกลางน้ำจะมีสีลำตัวสีน้ำเงิน แต่เมื่อขึ้นมาใกล้กับผิวน้ำหรือถูกจับขึ้นมาพ้นน้ำจะเปลี่ยนสีตัวเองเป็นสีแดงเข้ม หมึกไดมอนด์ เป็นหมึกที่พบได้ทั่วโลกในเขตร้อนและเขตอบอุ่น เป็นหมึกที่มีความสำคัญทางประมงโดยเฉพาะอย่างที่ทะเลญี่ปุ่น และโอกินาวา ในขณะที่บริเวณเกาะดอนซอล ในฟิลิปปินส์ ชาวพื้นเมืองที่นั่นจะเรียกหมึกไดมอนด์ว่า "คูสิท" เป็นหมึกที่สามารถขายได้ดีมีราคาสูง โดยเคยมีผู้จับได้ขนาดตัวที่มีน้ำหนักสูงสุดถึง 25 กิโลกรัม สามารถนำไปประกอบเป็นอาหารได้หลากหลาย ใช้วิธีการตกแบบพื้นเมือง คือ การออกเรือไปตั้งแต่เช้ามืด โดยใช้เบ็ดที่ไม่มีตะขอเกี่ยวกับเหยื่อล่อ คือ ปลา หย่อนลงไปในทะเลพร้อมกับไฟใต้น้ำที่เปิดกระพริบเพื่อเรียกความสนใจ เนื่องจากเมื่อหมึกไดมอนด์ฮุบเหยื่อแล้วจะไม่ลากเหยื่อไปในทิศทางต่าง ๆ เหมือนปลา แต่จะดึงขึ้นอย่างเดียว โดยสภาพที่ดีที่สุดในการจับหมึกไดมอนด์ คือ ทะเลที่มีคลื่นลม เพราะจะทำให้เหยื่อในน้ำนั้นมีการเคลื่อนไหวที่ดูเป็นธรรมชาติมากกว่าผู้ตกเคลื่อนไหว และหากจับได้แล้วตัวหนึ่ง ก็จะรีบสาวขึ้นมา เพื่อที่จะได้ตกอีกตัว เนื่องจากเป็นหมึกที่มีพฤติกรรมอาศัยอยู่กันเป็นคู่การพัฒนา, "มหัศจรรย์พันธุ์ลึก".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง หมึกกล้วยและหมึกไดมอนด์

หมึกกล้วยและหมึกไดมอนด์ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชั้นเซฟาโลพอดมอลลัสกาสัตว์หมึก (สัตว์)

ชั้นเซฟาโลพอด

ั้น เซฟาโลพอด (Cephalopod) เป็นชั้นในไฟลัมมอลลัสคา เซฟาโลพอดมีลักษณะเด่นตรงที่ร่างกายสมมาตร มีส่วนศีรษะเด่นออกมา การดัดแปลงส่วนเท้าของมอลลัสคา (muscular hydrostat) ไปเป็นแขนหรือหนว.

ชั้นเซฟาโลพอดและหมึกกล้วย · ชั้นเซฟาโลพอดและหมึกไดมอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

มอลลัสกา

มอลลัสกา (ไฟลัม: Mollusca, เสียงอ่าน) เป็นไฟลัมหนึ่งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง คือสัตว์ที่มีลำตัวนิ่ม ส่วนใหญ่มีเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอก พบทั้งบนบก น้ำจืด น้ำเค็ม น้ำกร่อย ดำรงชีวิตเป็นอิสระ มีต่อมเมือกตามผิวลำตัว ระบบอวัยวะมีความซับซ้อน ลำตัวสั้น ด้านหน้าเป็นส่วนหัว ด้านล้างเป็นแผ่นเท้าสำหรับเคลื่อนที่และว่ายน้ำ ด้าบบนมีแมนเทิลที่ทำหน้าที่สร้างเปลือกแข็ง ภายในช่องปากมีแรดูลา ยกเว้นในหอยสองฝา ช่วยในการกินอาหาร มีต่อมน้ำลายและตับช่วยสร้างน้ำย่อย ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจอยู่ด้านบนและเส้นเลือดไปตามส่วนต่างๆ ระบบขับถ่ายมีเนฟริเดียม ระบบหายใจประกอบด้วยเหงือกหรือถุงหายใจที่คล้ายปอด ระบบประสาทมีปมประสาทสามคู่และมีเส้นประสาทยึดระหว่างปม มีอวัยวะสำหรับรับภาพ กลิ่นและการทรงตัว ระบบสืบพันธุ์ส่วนใหญ่แยกเพศ มีบางพวกไม่แยกเพศและเปลี่ยนเพศได้ มีการปฏิสนธิทั้งแบบภายในและภายนอก สัตว์ในไฟลัมมอลลัสกาเรียกโดยรวมว่า มอลลัสก์ (mollusc, mollusk).

มอลลัสกาและหมึกกล้วย · มอลลัสกาและหมึกไดมอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์

ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

สัตว์และหมึกกล้วย · สัตว์และหมึกไดมอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

หมึก (สัตว์)

หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาหมึก เป็นสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ได้รวดเร็ว และว่องไว มีหนวดรอบปาก 4-5 คู่ บนหนวดมีปุ่มดูดเรียงเป็นแถว มีหน้าที่จับเหยื่อป้อนเข้าปาก เป็นสัตว์ที่มีอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลพอดซึ่งเป็นชั้นของสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม ชั้นย่อย Coleoidea ต่างจากกลุ่มสัตว์ที่ใกล้เคียงกันคือ Nautiloidea ซึ่งมีเปลือกแข็งห่อหุ้มภายนอกร่างกาย แต่หมึกส่วนใหญ่กลับมีกระดูกหรือเปลือกอยู่ภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นทุ่นหรือพยุงร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล ยังมีบางชนิดที่ไม่มีกระดูก แต่มีกระดูกอ่อนทดแทนเพื่อใช้ในการพยุงโครงสร้างร่างกาย คำว่า Cephalopoda ซึ่งเป็นชื่อชั้นที่ใช้เรียกหมึก มาจากภาษากรีกแปลรวมกันว่า "สัตว์หัว-เท้า" (head-footed animals) เนื่องจากหมึกเป็นสัตว์ที่ไม่มีแขนขา เพียงแต่มีระยางค์ยื่นออกจากจากรอบ ๆ บริเวณปากเรียกว่า หนวด เท่านั้นเอง หมึกวิวัฒนาการมาจากมอลลัสกา ในปลายยุคแคมเบรียน หรือราว 500 ล้านปีก่อน แต่กระนั้นหมึกและหอยในยุคปัจจุบันนี้ ก็ยังมีระบบทางร่างกายหลายอย่างเหมือนกัน กล่าวคือ ระบบทางเดินอาหาร, ปาก, ฟัน และกล้ามเนื้อแบบแมนเทิล ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบหมึกแล้วว่า 1,000 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ หมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย อาศัยอยู่ในห้วงน้ำลึกของมหาสมุทรแอตแลนติก อาจยาวได้ถึง 14 เมตร นับเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเล็กที่สุดมีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตรด้วยซ้ำ เช่น หมึกในวงศ์ Idiosepiidae เป็นต้น หมึกมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้เป็นอาหารมาช้านาน ในแทบทุกวัฒนธรรม หมึกถือเป็นสัตว์ทะเลที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร ซึ่งสามารถปรุงสุดได้ทั้งสดและตากแห้ง เช่น ในอาหารไทย เช่น หมึกผัดกะเพรา หรือ หมึกย่าง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังใช้ทำเป็นอาหารสัตว์ โดยเฉพาะลิ้นทะเล ซึ่งมีแคลเซียมเป็นจำนวนมาก จึงนิยมให้นกหรือสัตว์ปีกกินเพื่อเพิ่มแคลเซียมในร่างกาย นอกจากนี้แล้ว หมึกยังมักถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหมึกยักษ์หรือหมึกที่มีขนาดใหญ่ เช่น โจมตีใส่เรือดำน้ำนอติลุสของกัปตันนีโม ในนวนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Twenty Thousand Leagues Under the Sea เป็นต้น สำหรับหมึกที่พบในน่านน้ำไทย ได้แก่ หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis), หมึกกล้วย (Photololigo duvauceli), หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana), หมึกสายราชา (Octopus rex) เป็นต้น เลือดปลาหมึกมีสีน้ำเงิน.

หมึก (สัตว์)และหมึกกล้วย · หมึก (สัตว์)และหมึกไดมอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง หมึกกล้วยและหมึกไดมอนด์

หมึกกล้วย มี 32 ความสัมพันธ์ขณะที่ หมึกไดมอนด์ มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 9.52% = 4 / (32 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง หมึกกล้วยและหมึกไดมอนด์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »