โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หมาป่าและแบดเจอร์ยุโรป

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง หมาป่าและแบดเจอร์ยุโรป

หมาป่า vs. แบดเจอร์ยุโรป

หมาป่า หรือ หมาป่าสีแดง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม จัดอยู่ในวงศ์ Canidae มีสัตว์ร่วมตระกูลคือ หมาจิ้งจอก หมาใน ไคโยตี ไฮยีน่าและดิงโก หมาป่าจัดอยู่ในสัตว์ประเภทกินเนื้อที่มีนิสัยค่อนข้างดุร้าย ปราดเปรียว เฉลียวฉลาด มีการออกล่าเป็นทีม มีความอดทนรวมทั้งมีความกล้าหาญและความสามารถในการต่อสู้อย่างดีเยี่ยม หมาป่าอาศัยอยู่อย่างกระจัดกระจายในแถบทวีปยุโรปในอดีตมีถึง 32สายพัน. แบดเจอร์ยุโรป หรือ แบดเจอร์ยูเรเชีย (European badger, Eurasian badger, Badger) เป็นแบดเจอร์ชนิดหนึ่ง นับเป็นแบดเจอร์ขนาดใหญ่และเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี มีส่วนหัวที่เล็ก มีคอที่สั้นและหนา และมีหางที่สั้นและดวงตาขนาดเล็ก มีจุดเด่น คือ สีที่มีลักษณะเฉพาะเป็นแถบสีดำและขาวบริเวณส่วนหัว และมีขนสีขาวที่ปลายสุดของหู ความยาวตั้งแต่หัวจรดหางมีขนาดยาวได้ถึง 750 มิลลิเมตร โดยมีความยาวของหางอยู่ที่ 150 มิลลิเมตร มีน้ำหนักตัวเฉลี่ยอยู่ที่ระหว่าง 8-10 กิโลกรัม โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย มีฟันที่แหลมคมในปาก ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า ลายแถบสีดำของแบดเจอร์มีทฤษฎีมากมายที่อธิบายถึงการมีอยู่ บ้างก็เชื่อว่า เพราะแบดเจอร์เป็นสัตว์ที่สายตาไม่ดี อีกทั้งหากินในเวลากลางคืน จึงช่วยในการติดต่อสื่อสารกันเพราะเป็นจุดเด่น หรือบ้างก็ว่า ช่วยในการป้องกันดวงตาเวลาต่อสู้กัน เป็นสัตว์ที่หาอาหารกินได้หลากหลายทั้งพืชและเนื้อสัตว์ โดยกินไส้เดือนดินเป็นอาหารหลัก และยังกินแมลงปีกแข็ง, ทาก, หนอนและดักแด้, หนูบ้าน, ผลไม้ และหัวของพืชหลาย ๆ ประเภท เป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน โดยจะเริ่มออกหากินตั้งแต่ช่วงโพล้เพล้ แบดเจอร์อาศัยอยู่ในโพรงดินที่ขุดจากกรงเล็บตีนที่แหลมคม โดยมีตัวผู้และตัวเมียที่โตเต็มวัยหลายตัวพร้อมกับลูกเล็ก ๆ ครอกหนึ่งหรือสองครอก โดยโพรงนี้ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของแบดเจอร์หลายรุ่น ในโพรงมีทางเข้า-ออกหลายทาง แบ่งออกได้เป็นหลายห้อง โดยอาจมีได้ถึง 130 ทาง มีห้องถึง 50 ห้อง และมีอุโมงค์ทางเดินที่ทอดยาวได้ถึง 800 เมตร มีการสื่อสารระหว่างกันด้วยกลิ่น ซึ่งผลิตมาจากต่อมกลิ่นใกล้ก้น ถือเป็นเอกลักษณะประจำฝูงและประจำตัว นอกจากนี้แล้วแบดเจอร์ยังมีเสียงร้องที่แตกต่างกันได้ถึง 16 แบบ ครั้งหนึ่งมีความเชื่อกันว่าเสียงร้องของแบดเจอร์เป็นลางบอกเหตุว่า มีคนกำลังจะตาย แบดเจอร์เป็นสัตว์ที่มีกิจวัตรประจำวันที่ทำซ้ำตรงเวลาในทุก ๆ วัน และเมื่อหาคู่ จะตามหาคู่ด้วยกลิ่น ซึ่งบางครั้งอาจใช้เวลานานหลายสัปดาห์ แบดเจอร์เริ่มจับคู่ผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปีแต่ไข่ที่ได้รับการผสมพันธุ์แล้วจะถูกระงับการพัฒนาการไว้ชั่วคราวอยู่ในมดลูกจนกระทั่งถึงช่วงฤดูหนาวซึ่งเป็นช่วงที่ไข่ที่ได้รับการผสมพันธุ์จะได้รับการฝังไว้ในมดลูกและจะเจริญเติบโตต่อไปตามปกติ ทำให้ลูกแบดเจอร์ที่เกิดจากไข่ที่ได้รับการผสมพันธุ์ไม่ว่าช่วงไหนของปี จะคลอดมาพร้อม ๆ กัน หลังจากที่ไข่ซึ่งได้รับผสมพันธุ์ถูกฝังไว้ในมดลูกแล้ว ระยะเวลาการตั้งท้องจะอยู่ที่ 6-7 สัปดาห์ มีลูกได้ครอกละ 1-5 ตัว แต่ตามปกติแล้วจะอยู่ที่ 2-3 ตัว ลูกแบดเจอร์จะได้รับการเลี้ยงดูอยู่ใต้ดินเป็นเวลาถึง 8 สัปดาห์และจะเริ่มออกมาในช่วงฤดูใบไม้ผลิเท่านั้น ลูกแบดเจอร์จะหย่านมที่ช่วงเวลาประมาณ 12 สัปดาห์ แบดเจอร์ตัวเมียจะโตเต็มวัยเจริญพันธุ์หลังจาก 12–15 เดือน แต่ตัวผู้นั้นจะไม่โตเต็มวัยเจริญพันธุ์จนกระทั่งเข้าถึงช่วงอายุปีที่ 2 ในช่วงฤดูหนาวแบดเจอร์จะไม่จำศีลแต่จะมีการเคลื่อนไหวน้อยลง มีการแพร่กระจายพันธุ์ที่กว้างไกลในหลายส่วนของทวีปยุโรปจนถึงบางส่วนในเอเชีย เช่น ยูเรเชีย, ตะวันออกกลาง แบ่งออกได้เป็น 8 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) แบดเจอร์ ในอดีตมีการล่าเพื่อนำหนังและขนมาใช้ประโยชน์ต่าง ๆ รวมถึงการรับประทานเนื้อด้วย อีกทั้งแบดเจอร์ยังเป็นสัตว์รังควานต่อมนุษย์อีกด้วย และยังเป็นพาหะนำโรคบางอย่างสู่แก่ปศุสัตว์เช่น วัว ด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง หมาป่าและแบดเจอร์ยุโรป

หมาป่าและแบดเจอร์ยุโรป มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สมัยไพลสโตซีนสัตว์สัตว์กินเนื้อสัตว์มีแกนสันหลังสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคาโรลัส ลินเนียส

สมัยไพลสโตซีน

มัยไพลสโตซีน (Pleistocene เครื่องหมาย PS) เป็นธรณีกาลระหว่าง 2,588,000-11,700 ปีก่อนที่มียุคน้ำแข็งเกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน ชาลส์ ไลเอลล์ บัญญัติคำนี้ขึ้นในปี..

สมัยไพลสโตซีนและหมาป่า · สมัยไพลสโตซีนและแบดเจอร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์

ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

สัตว์และหมาป่า · สัตว์และแบดเจอร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์กินเนื้อ

ัตว์กินเนื้อ หรือ คาร์นิวอรา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Order Carnivora) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หมายถึงสัตว์ที่กินเนื้อสัตว์เป็นอาหารหลัก ไม่ว่าเนื้อสัตว์นั้นจะมาจากสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หรือว่าตายแล้ว สัตว์บางชนิดจำเป็นที่จะต้องกินเนื้อเพื่อความอยู่รอด อันเนื่องมาจากพันธุกรรม เราเรียกสัตว์ในกลุ่มนี้ว่า "true carnivore" (สัตว์กินเนื้อแท้) หรือ "obligate carnivores" (สัตว์กินเนื้อโดยบังคับ) สัตว์ในกลุ่มนี้อาจกินพืชผักหรืออาหารชนิดอื่นได้ แต่มันจะต้องกินเนื้อเพื่อเป็นแหล่งสารอาหารหลักของมัน กายวิภาคของสัตว์ในกลุ่มนี้ ทำให้มันไม่สามารถย่อยอาหารจำพวกพืชได้อย่างมีประสิท.

สัตว์กินเนื้อและหมาป่า · สัตว์กินเนื้อและแบดเจอร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์มีแกนสันหลัง

ัตว์มีแกนสันหลัง คือสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา พวกมันจะมีแกนสันหลัง ใยประสาทส่วนหลังกลวง ช่องคอหอย หลอดเส้นประสาทกลวงส่วนหลัง และหางหลังทวารหนัก ในช่วงหนึ่งของวงจรชีวิต สัตว์มีแกนสันหลังเป็นพวกดิวเทอโรสโตม กล่าวคือในช่วงระยะตัวอ่อน ทวารหนักเกิดก่อนปาก และเป็นซีโลเมตที่มีสมมาตรด้านข้าง ในกรณีของสัตว์มีแกนสันหลังที่มีกระดูกสันหลัง แกนสันหลังจะถูกแทนที่โดยกระดูกสันหลังในช่วงเจริญเติบโต และพวกมันอาจจะมีปล้องตามร่างกาย ในอนุกรมวิธาน ตัวไฟลัมเองประกอบไปด้วยไฟลัมย่อยเวอร์เตบราตา (ซึ่งประกอบด้วย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ทูนิคาตา (ซึ่งรวมทั้งซาล์ปและเพรียงหัวหอม) และเซฟาโลคอร์ดาตา ประกอบด้วยแหลนทะเล และยังรวมถึงบางกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว บางครั้งกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังถูกจัดรวมอยู่กับกลุ่มสัตว์มีกระโหลกศีรษะ สัตว์มีแกนสันหลังมีมากกว่า 65,000 สปีชีส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ กว่าครึ่งเป็นพวกปลากระดูกแข็ง วาฬและเหยี่ยวเพเรกริน สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเคลื่อนที่เร็วที่สุดตามลำดับ เป็นสัตว์มีแกนสันหลังเช่นเดียวกันกับมนุษย์ ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีแกนสันหลังยุคแรกๆ มีอายุย้อนไปถึงในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน.

สัตว์มีแกนสันหลังและหมาป่า · สัตว์มีแกนสันหลังและแบดเจอร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมและหมาป่า · สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมและแบดเจอร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

คาโรลัส ลินเนียส

รลัส ลินเนียส (ภาษาละติน) หรือ คาร์ล ลินเนียส (ภาษาสวีเดน) ปัจจุบันภาพนี้จัดแสดงที่ราชวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน ลายมือชื่อของคาร์ล ลินเนียส คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) หรือ คาร์ล ฟอน ลินเนีย บ้างก็เรียก คาร์ล ลินเนียส (Carl Linnaeus) (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2250 - 10 มกราคม พ.ศ. 2321) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน ผู้ริเริ่มการจัดแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ และการประยุกต์ใช้ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม ซึ่งมีประโยชน์ในการศึกษาชีววิทยาต่อมาจวบจนปัจจุบัน อนึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตที่จัดจำแนกโดยเขา จะลงท้ายด้วย L. หรือ Linn.

คาโรลัส ลินเนียสและหมาป่า · คาโรลัส ลินเนียสและแบดเจอร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง หมาป่าและแบดเจอร์ยุโรป

หมาป่า มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ แบดเจอร์ยุโรป มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 17.65% = 6 / (11 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง หมาป่าและแบดเจอร์ยุโรป หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »