โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หนู มิเตอร์และเพลงลูกทุ่ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง หนู มิเตอร์และเพลงลูกทุ่ง

หนู มิเตอร์ vs. เพลงลูกทุ่ง

หนู มิเตอร์ มีชื่อจริงว่า สร่างศัลย์ เรืองศรี เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ที่ จังหวัดลพบุรี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ทำงานในวงการเพลง ด้วยการเป็นโปรดิวเซอร์ แต่งเพลง และมือกีตาร์ จนได้รับฉายาว่า กีตาร์มิเตอร์ เนื่องจากโปรดิวเซอร์มักจะตะโกนสั่งว่า "กดมิเตอร์เลยหนู" เนื่องจากในสมัยนั้น กรุงเทพฯเพิ่งจะมีรถแท็กซี่มิเตอร์เป็นครั้งแรก (ปี พ.ศ. 2535) หนู มิเตอร์ทำเพลงหลากหลายแนว ทั้งป็อป, ร็อก และลูกทุ่ง มีผลงานการเป็นโปรดิวเซอร์ ให้กับศิลปินในสังกัดอาร์. เอส. โปรโมชั่น เช่น ปฏิวัติ เรืองศรี ในปี พ.ศ. 2537 หนู มิเตอร์ ได้ออกอัลบั้มของตัวเองเป็นชุดแรก ชื่อ "นิราศป่าปูน" กับค่ายรถไฟดนตรี เป็นเพลงแนวลูกทุ่งเพื่อชีวิต ได้รับความนิยมทันที เพลงที่ได้รับความนิยม เช่น ข้างหลังภาพ เป็นต้น ซึ่งเพลงในอัลบั้มนิราศป่าปูน มีผู้แต่งเนื้อร้อง/ทำนอง เกือบทุกเพลงโดย แพงคำ(ผดุง) ป้องจันลา ยกเว้นเพลง "ขอหมอนใบนั้น ที่เธอฝันยามหนุน" ซึ่งแต่งคำร้อง-ทำนองโดย หนู มิเตอร์ จากนั้นก็ได้ออกตามมาอีกหลายอัลบั้ม เช่น "แด่เธอผู้เป็นแรงใจ", "เพลงรักจากใจ" เป็นต้น มีเพลงที่ได้รับความนิยมเช่น พบรักปากน้ำโพ, หนุ่มบ้านไกล, ดาวในฝัน หนู มิเตอร์ ยังถือว่าเป็นมือกีตาร์รุ่นเดียวกันกับ ณรงค์ เดชะ วงสเตอ อีกด้วย หนู มิเตอร์ ยังได้ร่วมทำงานเพลงกับศิลปินอีกหลายคน หลายวง เช่น ธนพล อินทฤทธิ์ ในปี พ.ศ. 2537 ในชุด "ทีของเสือ", คาราบาว ในปี พ.ศ. 2538 ในชุด "15 ปี คาราบาว หากหัวใจยังรักควาย" ด้วยการเป่าขลุ่ย และเล่นกีตาร์ รวมทั้งเล่นกีตาร์ให้อิทธิ พลางกูร ในปี พ.ศ. 2539 อัลบั้ม "อิทธิ 6 ปกขาว", เทียรี่ เมฆวัฒนา ในปี พ.ศ. 2546 ในชุด "จักรวาล" ในฐานะมือกีตาร์ ปัจจุบัน นอกจากทำงานดนตรีแล้ว ยังเป็นผู้บริหารบริษัท มีดี เร็คคอร์ด ซึ่งมีที่มาจากภาษาอังกฤษว่า มีเดี่ยม (Medium) แปลว่า กลาง ๆ โดยเจ้าตัวอธิบายว่า เป็นบริษัททำเพลงเพื่อชีวิต เป็นเพลงซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างสตริงกับลูกทุ่ง ในสังกัดของ อาร์.เอส.โปรโมชั่น ต้องประชุม พูดคุยกับตัวนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ เพื่อให้ผลงานที่ออกมามีคุณภาพ มีดีสมชื่อ และที่สำคัญ ต้องไม่ให้ซ้ำกับคนอื่น ต้องสร้างเอกลักษณ์ของตัวเอง ดูแลบัญชี ประชาสัมพันธ์ และทำดนตรีด้วยตัวเองทั้งหม. ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง หนู มิเตอร์และเพลงลูกทุ่ง

หนู มิเตอร์และเพลงลูกทุ่ง มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2509พ.ศ. 2546อาร์ สยามอาร์เอสซอไทยป็อปเพลงลูกทุ่งเพลงเพื่อชีวิตเทียรี่ เมฆวัฒนา

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2509และหนู มิเตอร์ · พ.ศ. 2509และเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

พ.ศ. 2546และหนู มิเตอร์ · พ.ศ. 2546และเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ สยาม

อาร์ สยาม เป็นบริษัทในเครือบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) โดยค่าย อาร์ สยาม ได้แยกตัวจาก อาร์เอส โปรโมชั่น มาเป็นค่ายเพลงประเภทแนวลูกทุ่ง, หมอลำ และเพลงพื้นบ้าน โดยได้เปิดตัวในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2545.

หนู มิเตอร์และอาร์ สยาม · อาร์ สยามและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอส

ริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) (RS PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:RS) คือผู้นำในธุรกิจสื่อบันเทิงครบวงจร โดยธุรกิจในปัจจุบันของกลุ่มอาร์เอสประกอบด้วย 4 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจเครื่องสำอาง ธุรกิจเพลงที่มีรายได้จาก 3 ช่องทางหลัก ทั้งการจำหน่าย Physical Product การจำหน่ายผ่านช่องทาง Digital และรายได้จากการจัดเก็บลิขสิทธิ์ ธุรกิจโชว์บิซ อันได้แก่ การจัดคอนเสิร์ตและอีเว้นท์ ให้กับทั้งภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงรายได้จากการบริหารศิลปิน ธุรกิจสื่อ ได้แก่ สื่อวิทยุ และสื่อโทรทัศน์ โดยสื่อวิทยุ ได้แก่ COOLfahrenheit 93 และ สื่อโทรทัศน์ ประกอบด้วยฟรีทีวีคือช่อง 8 และ 3 ช่องโทรทัศน์ดาวเทียม ได้แก่ สบายดี ทีวี, YOU Channel และ ช่อง 2.

หนู มิเตอร์และอาร์เอส · อาร์เอสและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ซอ

ซอ เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่งจำพวกเครื่องสาย ทำให้เกิดเสียงโดยการใช้คันชักสีเข้ากับสายที่ขึงเอาไว้.

ซอและหนู มิเตอร์ · ซอและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยป็อป

ทยป็อป เป็นแนวเพลงของไทยที่มาจากเพลงป็อปฝั่งตะวันตก ปรากฏในช่วงยุค 2520 ในช่วงนั้นรู้จักกันในนาม เพลงสตริง ได้เข้าสู่กระแสนิยมหลักในยุค 2530 และได้เป็นที่โดดเด่นตั้งแต่นั้นมาในวงการเพลงไทย เพลงสตริงมีต้นกำเนิดจากวงดนตรีอาร์แอนด์บีและเซิรฟร็อกอเมริกันเซ่น เดอะเวนเจอส์ (The Ventures) และ ดิก เดล, แนวเพลงเอ็กโซติกา (Exotica), ร็อกอะบิลลี (rockabilly) และ คันทรี ได้เข้ามาในประเทศไทย โดยทหารอเมริกันและออสเตรเลียในช่วงที่ทหารประจำการในเวียดนามในยุค 2500 และ 2510 นอกจากนี้ยังเอาดนตรีได้รับอิทธิพลมาจากการบุกของอังกฤษ รวมทั้ง ร็อกแอนด์โรล, การาจร็อก และเพลงประกอบภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด เพลงสตริงยังครอบคลุมไทยร็อก เพลงแดนซ์ แร็ป และเพลงสมัยนิยมที่ได้อิทธิพลจากตะวันตก แต่ไม่รวมถึงเพลงเพื่อชีวิต ในยุค 2520 ได้เพิ่มแนวเพลงอื่นได้แก่ ดิสโก้ ฟังก์ แดนซ์และร็อก ศิลปินแนวเพลงสตริงในยุคแรกได้แก่ ดิอิมพอสซิเบิ้ล, และ แกรนด์เอ็กซ.

หนู มิเตอร์และไทยป็อป · เพลงลูกทุ่งและไทยป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

หนู มิเตอร์และเพลงลูกทุ่ง · เพลงลูกทุ่งและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

หนู มิเตอร์และเพลงเพื่อชีวิต · เพลงลูกทุ่งและเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เทียรี่ เมฆวัฒนา

ทียรี่ เมฆวัฒนา นักร้องและนักดนตรีชาวไทย สมาชิกวงคาราบาว มีชื่อจริงว่า เทียรี่ สุทธิยงค์ เมฆวัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2501 ที่ประเทศลาว โดยมีพ่อเป็นชาวไทยเชื้อสายจีนชื่อ เอนก เมฆวัฒนา แม่เป็นชาวสวิตเซอร์แลนด์ จากผู้จัดการออนไลน.

หนู มิเตอร์และเทียรี่ เมฆวัฒนา · เทียรี่ เมฆวัฒนาและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง หนู มิเตอร์และเพลงลูกทุ่ง

หนู มิเตอร์ มี 32 ความสัมพันธ์ขณะที่ เพลงลูกทุ่ง มี 203 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 3.83% = 9 / (32 + 203)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง หนู มิเตอร์และเพลงลูกทุ่ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »