ความคล้ายคลึงกันระหว่าง หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและอาร์ สยาม
หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและอาร์ สยาม มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2545หนู มิเตอร์อาร์ สยามอาร์เอสเพลงลูกทุ่ง
พ.ศ. 2545
ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2545และหญิง ธิติกานต์ อาร์สยาม · พ.ศ. 2545และอาร์ สยาม ·
หนู มิเตอร์
หนู มิเตอร์ มีชื่อจริงว่า สร่างศัลย์ เรืองศรี เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ที่ จังหวัดลพบุรี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ทำงานในวงการเพลง ด้วยการเป็นโปรดิวเซอร์ แต่งเพลง และมือกีตาร์ จนได้รับฉายาว่า กีตาร์มิเตอร์ เนื่องจากโปรดิวเซอร์มักจะตะโกนสั่งว่า "กดมิเตอร์เลยหนู" เนื่องจากในสมัยนั้น กรุงเทพฯเพิ่งจะมีรถแท็กซี่มิเตอร์เป็นครั้งแรก (ปี พ.ศ. 2535) หนู มิเตอร์ทำเพลงหลากหลายแนว ทั้งป็อป, ร็อก และลูกทุ่ง มีผลงานการเป็นโปรดิวเซอร์ ให้กับศิลปินในสังกัดอาร์. เอส. โปรโมชั่น เช่น ปฏิวัติ เรืองศรี ในปี พ.ศ. 2537 หนู มิเตอร์ ได้ออกอัลบั้มของตัวเองเป็นชุดแรก ชื่อ "นิราศป่าปูน" กับค่ายรถไฟดนตรี เป็นเพลงแนวลูกทุ่งเพื่อชีวิต ได้รับความนิยมทันที เพลงที่ได้รับความนิยม เช่น ข้างหลังภาพ เป็นต้น ซึ่งเพลงในอัลบั้มนิราศป่าปูน มีผู้แต่งเนื้อร้อง/ทำนอง เกือบทุกเพลงโดย แพงคำ(ผดุง) ป้องจันลา ยกเว้นเพลง "ขอหมอนใบนั้น ที่เธอฝันยามหนุน" ซึ่งแต่งคำร้อง-ทำนองโดย หนู มิเตอร์ จากนั้นก็ได้ออกตามมาอีกหลายอัลบั้ม เช่น "แด่เธอผู้เป็นแรงใจ", "เพลงรักจากใจ" เป็นต้น มีเพลงที่ได้รับความนิยมเช่น พบรักปากน้ำโพ, หนุ่มบ้านไกล, ดาวในฝัน หนู มิเตอร์ ยังถือว่าเป็นมือกีตาร์รุ่นเดียวกันกับ ณรงค์ เดชะ วงสเตอ อีกด้วย หนู มิเตอร์ ยังได้ร่วมทำงานเพลงกับศิลปินอีกหลายคน หลายวง เช่น ธนพล อินทฤทธิ์ ในปี พ.ศ. 2537 ในชุด "ทีของเสือ", คาราบาว ในปี พ.ศ. 2538 ในชุด "15 ปี คาราบาว หากหัวใจยังรักควาย" ด้วยการเป่าขลุ่ย และเล่นกีตาร์ รวมทั้งเล่นกีตาร์ให้อิทธิ พลางกูร ในปี พ.ศ. 2539 อัลบั้ม "อิทธิ 6 ปกขาว", เทียรี่ เมฆวัฒนา ในปี พ.ศ. 2546 ในชุด "จักรวาล" ในฐานะมือกีตาร์ ปัจจุบัน นอกจากทำงานดนตรีแล้ว ยังเป็นผู้บริหารบริษัท มีดี เร็คคอร์ด ซึ่งมีที่มาจากภาษาอังกฤษว่า มีเดี่ยม (Medium) แปลว่า กลาง ๆ โดยเจ้าตัวอธิบายว่า เป็นบริษัททำเพลงเพื่อชีวิต เป็นเพลงซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างสตริงกับลูกทุ่ง ในสังกัดของ อาร์.เอส.โปรโมชั่น ต้องประชุม พูดคุยกับตัวนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ เพื่อให้ผลงานที่ออกมามีคุณภาพ มีดีสมชื่อ และที่สำคัญ ต้องไม่ให้ซ้ำกับคนอื่น ต้องสร้างเอกลักษณ์ของตัวเอง ดูแลบัญชี ประชาสัมพันธ์ และทำดนตรีด้วยตัวเองทั้งหม.
หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและหนู มิเตอร์ · หนู มิเตอร์และอาร์ สยาม ·
อาร์ สยาม
อาร์ สยาม เป็นบริษัทในเครือบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) โดยค่าย อาร์ สยาม ได้แยกตัวจาก อาร์เอส โปรโมชั่น มาเป็นค่ายเพลงประเภทแนวลูกทุ่ง, หมอลำ และเพลงพื้นบ้าน โดยได้เปิดตัวในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2545.
หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและอาร์ สยาม · อาร์ สยามและอาร์ สยาม ·
อาร์เอส
ริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) (RS PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:RS) คือผู้นำในธุรกิจสื่อบันเทิงครบวงจร โดยธุรกิจในปัจจุบันของกลุ่มอาร์เอสประกอบด้วย 4 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจเครื่องสำอาง ธุรกิจเพลงที่มีรายได้จาก 3 ช่องทางหลัก ทั้งการจำหน่าย Physical Product การจำหน่ายผ่านช่องทาง Digital และรายได้จากการจัดเก็บลิขสิทธิ์ ธุรกิจโชว์บิซ อันได้แก่ การจัดคอนเสิร์ตและอีเว้นท์ ให้กับทั้งภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงรายได้จากการบริหารศิลปิน ธุรกิจสื่อ ได้แก่ สื่อวิทยุ และสื่อโทรทัศน์ โดยสื่อวิทยุ ได้แก่ COOLfahrenheit 93 และ สื่อโทรทัศน์ ประกอบด้วยฟรีทีวีคือช่อง 8 และ 3 ช่องโทรทัศน์ดาวเทียม ได้แก่ สบายดี ทีวี, YOU Channel และ ช่อง 2.
หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและอาร์เอส · อาร์ สยามและอาร์เอส ·
เพลงลูกทุ่ง
ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..
หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและเพลงลูกทุ่ง · อาร์ สยามและเพลงลูกทุ่ง ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและอาร์ สยาม มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและอาร์ สยาม
การเปรียบเทียบระหว่าง หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและอาร์ สยาม
หญิง ธิติกานต์ อาร์สยาม มี 59 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาร์ สยาม มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 5.95% = 5 / (59 + 25)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง หญิง ธิติกานต์ อาร์สยามและอาร์ สยาม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: