โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดและไทยเอฟเอคัพ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดและไทยเอฟเอคัพ

สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด vs. ไทยเอฟเอคัพ

ัญลักษณ์สโมสร ใช้เฉพาะฤดูกาล 2560 สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด (เดิมชื่อ "สโมสรฟุตบอลทหารบก") เป็นสโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่สโมสรหนึ่งในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2459. ทยเอฟเอคัพ (Thai FA Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยระดับสูงในประเทศไทย จัดขึ้นโดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 และพักการแข่งขันไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 สมาคมฯ กลับมาจัดแข่งขันอีกครั้ง ปัจจุบัน (ตั้งแต่ฤดูกาล 2558) เปลี่ยนผู้สนับสนุนหลัก จากมูลนิธิไทยคม มาเป็นบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเบียร์ช้าง จึงมีชื่อเรียกว่า ช้าง เอฟเอคัพ รูปแบบการแข่งขันเป็นระบบแพ้คัดออก (Knock-out) โดยกำหนดสัดส่วนของสโมสรฟุตบอลที่เข้าแข่งขัน ตามระดับชั้นของลีกที่ลงแข่งขันในฤดูกาลนั้น ทั้งนี้สโมสรที่ชนะเลิศ จะได้สิทธิเข้าแข่งขัน รายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกรอบคัดเลือก รอบสอง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดและไทยเอฟเอคัพ

สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดและไทยเอฟเอคัพ มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช้าง เอฟเอคัพ 2558ช้าง เอฟเอคัพ 2559มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2552มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2553มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2554มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2555มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2556มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2557สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สโมสรฟุตบอลชัยนาท ฮอร์นบิลสโมสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผลสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรประเทศไทยเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก

ช้าง เอฟเอคัพ 2558

การแข่งขันฟุตบอล ช้าง เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2558 เริ่มการแข่งขันรอบคัดเลือก ตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ ไปจนถึงนัดชิงชนะเลิศ ในวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ โดยทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ เข้าแข่งขันรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกโดยอัตโนมัต.

ช้าง เอฟเอคัพ 2558และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · ช้าง เอฟเอคัพ 2558และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง เอฟเอคัพ 2559

การแข่งขันฟุตบอล ช้าง เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2559 เป็นการแข่งขันไทยเอฟเอคัพ ฤดูกาลที่ 21 โดยจัดการแข่งขันแบบแพ้คัดออก โดยการแข่งขันรายการนี้จัดขึ้นโดย สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งทีมที่ชนะเลิศจะได้สิทธิ์เป็นตัวแทนจากไทยในการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ รอบที่ 2 รวมไปถึง การแข่งขันชิงถ้วยพระราชทาน ก. กับทีมแชมป์โตโยต้า ไทยลีก ต่อไป.

ช้าง เอฟเอคัพ 2559และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · ช้าง เอฟเอคัพ 2559และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2552

การแข่งขันฟุตบอล มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2552 เป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยระดับสูงในประเทศไทย ซึ่งสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มนำกลับมาจัดขึ้นอีกครั้ง หลังจากยุติการจัดแข่งขันไปในระยะ 10 ปีก่อนหน้านั้น โดยเริ่มการแข่งขันรอบแรกตั้งแต่วันที่ 27 มิถุนายน ไปจนถึงนัดชิงชนะเลิศ ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาต.

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2552และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2552และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2553

การแข่งขันฟุตบอล มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2553 เริ่มการแข่งขันรอบแรก ตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม ไปจนถึงนัดชิงชนะเลิศ ในวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาต.

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2553และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2553และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2554

การแข่งขันฟุตบอล มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2554 เริ่มการแข่งขันรอบแรก ตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554 แต่หลังจากจบการแข่งขัน รอบที่ห้าในเดือนตุลาคม เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ต้องเลื่อนการแข่งขัน ตั้งแต่รอบก่อนรองชนะเลิศออกไป โดยการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ จัดขึ้นในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2555 ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ โดยตั้งแต่ฤดูกาลนี้เป็นต้นไป ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ เข้าแข่งขันรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกโดยอัตโนมัต.

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2554และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2554และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2555

การแข่งขันฟุตบอล มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2555 เริ่มการแข่งขันรอบแรก ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน ไปจนถึงนัดชิงชนะเลิศ ในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ โดยทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ เข้าแข่งขันรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกโดยอัตโนมัต.

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2555และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2555และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2556

การแข่งขันฟุตบอล มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2556 เริ่มการแข่งขันรอบคัดเลือก ตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม ไปจนถึงนัดชิงชนะเลิศ ในวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ซึ่งต้องย้ายไปแข่งขันที่สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิตเป็นครั้งแรก นับตั้งแต่ฤดูกาล 2552 เนื่องจากมีการชุมนุมทางการเมือง บริเวณใกล้กับสนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ โดยทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ เข้าแข่งขันรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกโดยอัตโนมัต.

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2556และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2556และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2557

การแข่งขันฟุตบอล มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2557 เริ่มการแข่งขันรอบคัดเลือก ตั้งแต่วันที่ 19 มีนาคม ไปจนถึงนัดชิงชนะเลิศ ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ โดยทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ เข้าแข่งขันรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกโดยอัตโนมัต.

มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2557และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2557และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

นักทรัพยาการบุคคล รัฐศักดิ์ ทับพุ่ม กำลังศึกษาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการจัดการฟุตบอลอาชีพ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ซึ่งทำหน้าที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศไทย รวมถึงฟุตบอลทีมชาติไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2459 อันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเข้าร่วมกับสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2468 และเข้าร่วมกับสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2500.

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์และไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลชัยนาท ฮอร์นบิล

ัญลักษณ์สโมสรแบบเก่า สโมสรฟุตบอลชัยนาท ฮอร์นบิล (อังกฤษ:Chainat Hornbill Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยโดยเป็นทีมจากจังหวัดชัยนาท ปัจจุบันเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นบนไทยลีกอีกครั้ง หลายปีที่ผ่านมาเป็นทีมที่ขึ้นชื่อเรื่องลายเสื้อแข่งขันที่จะออกแบบมาแปลกใหม่ ได้สร้างความฮือฮาในปี 2014,2015และในฤดูกาล 2018 เป็นกระแสฮือฮาในโลกโซเซียลมีเดียด้วยการให้นักฟุตบอลทำท่า Haka ก่อนลงแข่งขันแบบเดียวกับรักบี้ทีมชาตินิวซีแลนด์ โดยมีที่มาจากการเต้นของเผ่าเมารี เพื่อใช้ก่อนออกศึก.

สโมสรฟุตบอลชัยนาท ฮอร์นบิลและสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · สโมสรฟุตบอลชัยนาท ฮอร์นบิลและไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผล

มสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผล เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยโดยเป็นทีมจากจังหวัดราชบุรี ปัจจุบันเล่นในไทยลีก.

สโมสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผลและสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · สโมสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผลและไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร

มสรฟุตบอลโปลิศ เทโร (Police Tero F.C.) สโมสร ฟุตบอล ใน ประเทศไทย โดยปัจจุบันลงทำการแข่งขันอยู่ใน ไทยลีก เกิดจากการรวมกันของ บีอีซี-เทโรศาสน และ เพื่อนตำรวจ ใน ฤดูกาล 2560 โดยเปลี่ยนเป็น โปลิศ เทโร ตั้งแต่ ฤดูกาล 2561 เป็นต้นไป.

สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดและสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร · สโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรและไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · ประเทศไทยและไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก

อเอฟซีแชมเปียนส์ลีก (AFC Champions League; ACL) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของทีมสโมสรอาชีพจากประเทศที่เป็นสมาชิกของเอเอฟซี โดยทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจะมาจากทีมสโมสรที่ชนะเลิศและรองชนะเลิศการแข่งขันจากแต่ละประเทศ โดยในการแข่งขันแชมเปียนส์ลีกนี้จะมี 32 สโมสร จาก 10 ลีกสูงสุดของแต่ละประเทศในทวีปเอเชียเข้าร่วมแข่งขัน ทีมชนะเลิศจะได้รับเงินรางวัลจำนวน 2.25 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ขึ้นอยู่กับผลการแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่ม) และได้สิทธิเข้าร่วมแข่งขันในรายการฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพในช่วงปลายปีเดียวกัน.

สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดและเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก · เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกและไทยเอฟเอคัพ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดและไทยเอฟเอคัพ

สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด มี 64 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไทยเอฟเอคัพ มี 41 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 13.33% = 14 / (64 + 41)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดและไทยเอฟเอคัพ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »