โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สุธาสินี พุทธินันทน์และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สุธาสินี พุทธินันทน์และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7

สุธาสินี พุทธินันทน์ vs. เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7

นี พุทธินันทน์ (ชื่อเล่นว่า "แพท") เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2518 เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย เป็นบุตรสาวของ นางอรุยา พุทธินันทน์และนายเรวัต พุทธินันทน์ ผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์ หรือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ร่วมกับ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม มีผลงานการแสดงและการขับร้องเพลงที่หลากหลาย ปัจจุบันสมรสกับ มาร์ค แกรี่ โรดริเกส นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ชาวอเมริกันแล้ว มีบุตรชาย 1 คน ชื่อ ดานเต้ เรวัต โรดริเกส คลอดเมื่อ วันพฤหัสบดี ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ที่ ลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา สุธาสินีจบการศึกษาระดับอนุบาลที่อนุบาลยุคลธร, ต่อมาได้ไปศึกษาต่อที่โรงเรียนสาธิตประสานมิตรตั้งแต่ระดับ ป.1 ถึง ม.3, และไปย้ายไอยู่ที่อเมริกากับคุณยายเมื่อเรียนจบ ม.3 โดยไปศึกษาระดับ High School ที่ Flintridge Sacred Heart Academy, ปริญญาตรีสาขา Theatre จาก University of Southern California, United State (มหาวิทยาลัยเซาเธิร์นแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา)และได้ประกาศนียบัตรด้าน TESOL (Teaching English to Speakers of other Languages) และ TEFL (Teaching English as a Foreign Language) ที่ UCLA. อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 เป็นการแข่งขันเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปีที่ 7 โดยเริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2553.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สุธาสินี พุทธินันทน์และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7

สุธาสินี พุทธินันทน์และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ประเทศไทยแคลช1 พฤษภาคม

สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว

กฤษฏิ์ วิเศษแก้ว นักร้องและนักแสดงชาวไทย สังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีชื่อเสียงจากผลงานเพลง I Need Somebody (อยากขอสักคน) ปัจจุบันมีผลงานในวงการบันเทิง งานเพลง, ละครโทรทัศน์, ละครเวที, ซิตคอม และ ภาพยนตร์ ได้รับการจัดอันดับเป็นหนึ่งในสิบผู้ทรงอิทธิพลร่วมกับบุคคลสำคัญในแวดวงการเมืองและสังคมของไทยประจำปี 2551 โดยนิตยสาร Positoning และหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลวงการบันเทิงไทย จัดอันดับโดยหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ความสำเร็จในวงการบันเทิง รางวัลที่ได้รับหลายปีติดต่อกัน อาทิ รางวัลขวัญใจมหาชน 5 ปีซ้อน จาก ไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์, นักร้องยอดเยี่ยม จาก ท็อปอวอร์ด, นักร้องยอดนิยม จาก ซี๊ด อวอร์ดส ด้านสื่อบันเทิงและโฆษณา อาทิ พรีเซ็นเตอร์แห่งปี จาก นิตยสาร Marketeer ปี 2008, พรีเซ็นเตอร์ชายยอดนิยม ปี 2009 จาก โอ้โหอวอร์ด, เจ้าพ่อปกแมกกาซีน ปี 2009 โดยบางกอกทูเดย์ เป็นต้น ชื่อเสียงในต่างประเทศ โล่เกียรติคุณ อาทิ ทูตละครไทย จาก สถานีโทรทัศน์อันฮุยทีวีของจีน, The Best Asian Artist จาก เอเชียนซองเฟสติวัล ปี 2010 รางวัลที่ได้รับ อาทิ นักแสดงนำชายจากละครทีวีต่างชาติดีเด่น จาก China TV Drama Awards 2011 (2011国剧盛典) ฉายาที่ได้รับในจีน Tai Yang Wang Zi (泰阳王子) หรือ Sun Prince of Thailand จาก นิตยสาร Star New Generation (明星新生代) เป็นต้น.

สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วและสุธาสินี พุทธินันทน์ · สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

ริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกิจการบันเทิง ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจดนตรี, สื่อ, ภาพยนตร์, ดิจิตอล, สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม, สถานีวิทยุ, สื่อสิ่งพิมพ์, และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดย ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม และเรวัต พุทธินันทน์ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็นค่ายเพลงที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของประเทศไทย และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ นอกจากนี้ยังเป็นบริษัทที่มีคนอยากเข้าทำงานมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ ดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก นิยายรักจากก้อนเมฆ โดย แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์ และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการ ไปสู่ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่นๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่างๆ ของบริษัทในเครือ เช่นเทปและซีดีเพลงการขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 ข้อมูลเมื่อ เมษายน..

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่และสุธาสินี พุทธินันทน์ · จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและสุธาสินี พุทธินันทน์ · ประเทศไทยและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 · ดูเพิ่มเติม »

แคลช

แคลช (Clash) เขียนเป็น CL★SH เป็นวงดนตรีแนวนูเมทัลชาวไทย รวมตัวกันครั้งแรกในชื่อวง ลูซิเฟอร์ เพื่อเข้าประกวดรายการดนตรีฮอตเวฟมิวสิกอวอร์ดส์ครั้งที่ 2 และ 3 แต่ครั้งสมัยศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ณ โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งในการแข่งขันครั้งที่สามนี้ ลูซิเฟอร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง และได้เซ็นสัญญากับค่ายอัพจี หนึ่งในค่ายเพลงในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ แคลชมีผลงานสตูดิโออัลบั้มกว่า 7 ชุด และยังเข้าร่วมโครงการอัลบั้มพิเศษกับศิลปินในสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่อื่นๆ นอกจากนี้ยังมีผลงานอัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง พันธุ์เอ็กซ์เด็กสุดขั้ว เพลงประกอบละคร เพลงประกอบภาพยนตร์โฆษณา และซิงเกิลพิเศษอีกหลายเพลง และเนื่องจากแบงก์ หนึ่งในสมาชิกของวงมีความสามารถด้านการประพันธ์เพลง ทำให้เขามีโอกาสประพันธ์เพลงให้กับศิลปินอื่นๆอีกหลายเพลง พวกเขายังร่วมกันเปิดร้านอาหารกึ่งผับในชื่อ แคลงก์ และเขียนหนังสือพ็อคเก็ตบุ๊คเล่มแรกที่วางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2551 แคลชได้รับรางวัลการยกย่องเป็นตำนานของเพลงร็อกไทยและได้รับรางวัลจากสื่อมวลชนและรายการรางวัลดนตรีมากมาย และยังได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ อาทิ เป็นพรีเซนเตอร์โฆษณารถมอเตอร์ไซค์ โครงการรณรงค์ไนกี้ นอกจากนี้แบงค์ นักร้องนำของวงยังได้รับยกย่องให้เป็น "ลูกยอดกตัญญู" ในงานวันแม่แห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2549 อีกด้วย ในปี พ.ศ. 2553 วงแคลชได้ออกอัลบั้มชุดที่เจ็ด Nine Miss U 2 ซึ่งในเวลาต่อมาพวกเขาได้แถลงการณ์ยุบวง โดยให้เหตุผลว่าทางสมาชิกมีมุมมองและทิศทางการทำงานที่แตกต่างกันออกไปจึงหันไปทำแนวเพลงที่ต่างชื่นชอบกัน อีกทั้งในเพลง "เพลงสุดท้าย" ทางวงก็ได้เปิดโอกาสให้แฟนเพลงได้ร่วมร้องกว่า 70 คน เมื่อวันที่ 7 เมษายน..

สุธาสินี พุทธินันทน์และแคลช · เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7และแคลช · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

1 พฤษภาคมและสุธาสินี พุทธินันทน์ · 1 พฤษภาคมและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สุธาสินี พุทธินันทน์และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7

สุธาสินี พุทธินันทน์ มี 25 ความสัมพันธ์ขณะที่ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 มี 115 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 3.57% = 5 / (25 + 115)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สุธาสินี พุทธินันทน์และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »