โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ดัชนี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงานที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายธุรการให้กับ สภาผู้แทนราษฎร แต่ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นฝ่ายธุรการให้กับ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเท.

28 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2475พ.ศ. 2483พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2494พ.ศ. 2495การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475รัฐสภารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494วังปารุสกวันวุฒิสภาวุฒิสภาไทยสภาผู้แทนราษฎรสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรหลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)อาคารรัฐสภาไทยผิน ชุณหะวัณคณะราษฎรปรีดี พนมยงค์แปลก พิบูลสงคราม10 มกราคม22 มกราคม24 พฤษภาคม28 มิถุนายน29 พฤศจิกายน7 มกราคม

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภา

ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 ของไทย จัดร่างโดยสภาผู้แทนราษฎร และประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และถูกยกเลิกเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 โดยรัฐประหารของคณะรัฐประหารอันมี พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ นายทหารกองหนุน เป็นหัวหน้า รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 1 ปี 5 เดือน 28 วัน รัฐธรรมนูญฉบับนี้กำหนดให้มีพฤฒิสภา (วุฒิสภา) ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยกำหนดให้มีสมาชิกในสภานี้ทั้งสิ้น 80 คน.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

วังปารุสกวัน

ตำหนักปารุสก์ ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน วังปารุสกวัน หรือย่อว่า วังปารุสก์ ตั้งอยู่หัวมุมถนนพิษณุโลก ตัดกับถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นวังที่ประทับของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหาร จากประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2449 ปัจจุบันใช้เป็นที่ทำการของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ พิพิธภัณฑ์กรมตำรวจ และกองบัญชาการตำรวจนครบาล.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย

วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2489 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 แบ่งรูปแบบสำคัญออกเป็น 2 ยุค คือ ยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง และยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งและการสรรหา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนวุฒิสภา โดยมี นายนัฑ ผาสุข เป็นเลขาธิการว.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎร

ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ

ับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) (13 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560) ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 มาตรา 39/2 ทำหน้าที่ศึกษาและปฏิรูปทั้ง 11 ด้านสืบต่อจาก สภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่ถูกยุบไปตามมาตรา 39/1 โดยสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศนั้นประกอบด้วยบุคคลจากหลากหลายอาชีพทั้งสิ้นไม่เกิน 200 คนซึ่งทั้งหมดมาจากการแต่งตั้งโดย นายกรัฐมนตรี โดยนายกรัฐมนตรีสามารถแต่งตั้งโดยไม่ต้องนำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย วันที่ 5 ตุลาคม 2558 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้เรียกประชุมที่บ้านเกษะโกมล และได้มีการลงนามแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศทั้ง 200 คนพร้อมกับ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ทั้ง 21 คน ซึ่งสมาชิกทั้ง 200 คนประกอบไปด้วยอดีตสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติ,นักวิชาการ,นายทหารนายตำรวจทั้งในและนอกราชการ,ตัวแทนกลุ่มการเมืองและตัวแทนพรรคการเมืองโดยสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูประเทศเป็นชาย 183 คนและหญิง 17 คนโดยในวันเดียวกัน ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องแต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปประเทศทั้ง 200 คน วันที่ 13 ตุลาคม 2558 มีพิธีเปิดประชุมสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศที่ อาคารรัฐสภา โดยมีนาย ชัย ชิดชอบ สมาชิกสภาที่อาวุโสสูงสุดทำหน้าที่เป็นประธานสภาชั่วคราวเพื่อเลือกประธานสภาผลปรากฏว่าศาสตราจารย์เกียรติคุณ ร้อยเอก ดร.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงานที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายธุรการให้กับ สภาผู้แทนราษฎร แต่ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นฝ่ายธุรการให้กับ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเท.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์)

อำมาตย์ตรี หลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว พ.ศ. 2475, คณะกรรมานุการพิจารณาร่างเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (สมุดปกเหลือง), เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ปลัดกระทรวงคมนาคม,รัฐมนตรี, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและหลวงคหกรรมบดี (ชม จารุรัตน์) · ดูเพิ่มเติม »

อาคารรัฐสภาไทย

อาคารรัฐสภา เป็นสำนักของรัฐสภาไทย ใช้เป็นที่ประชุมร่วมกันหรือแยกกันของสภาผู้แทนราษฎรไทยและวุฒิสภาไทย ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา รวมตลอดถึงหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐสภาด้วย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 หลังการปฏิวัติสยามและประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฉบับแรก ผู้แทนราษฎรจำนวน 70 คนซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ได้ประกอบกันเป็นสภาผู้แทนราษฎรและประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรทั่วประเทศได้สำเร็จลง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้โปรดให้สภาผู้แทนราษฎรประชุมกันที่พระที่นั่งนี้ได้ต่อไป ครั้นจำนวนสมาชิกรัฐสภาเพิ่มขึ้นตามอัตราประชากรที่เพิ่มขึ้น และจำต้องมีที่ทำการของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา จึงจำต้องสร้างอาคารรัฐสภาที่รับความต้องการดังกล่าวได้ ในการนี้ มีการวางโครงการสร้างอาคารรัฐสภาใหม่ถึงสี่ครั้ง แต่สามครั้งแรกไปไม่ตลอดรอดฝั่งเพราะคณะรัฐมนตรีซึ่งริเริ่มโครงการต้องพ้นจากตำแหน่งไปเสียก่อน ในครั้งที่สี่ เริ่มโครงการก่อสร้างเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2513 มีกำหนดสร้างเสร็จภายใน 850 วัน ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 51,027,360 บาท ประกอบด้วยอาคารหลัก 3 หลัง คือ.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและอาคารรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

10 มกราคม

วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและ10 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและ22 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและ24 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและ28 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »