เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สารก่อมะเร็งและเขม่าดำ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สารก่อมะเร็งและเขม่าดำ

สารก่อมะเร็ง vs. เขม่าดำ

ัญลักษณ์เตือน"สารเคมีนี้อาจเป็นสารก่อมะเร็ง" สารก่อมะเร็ง (carcinogen) หมายถึง สาร วัตถุ นิวไคลด์กัมมันตรังสี หรือการแผ่รังสีใดๆ ที่เป็นตัวกระตุ้นที่ก่อให้เกิดมะเร็ง ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงเสถียรภาพของจีโนม หรือการรบกวนกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ ธาตุกัมมันตรังสีบางชนิดก็ถูกจัดให้เป็นสารก่อมะเร็ง ซึ่งการกระตุ้นนั้นจะมาจากรังสีที่แผ่ออกมา อาทิ รังสีแกมมาหรืออนุภาคแอลฟา สารก่อมะเร็งอย่างหนึ่งที่รู้จักโดยทั่วไปคือ ควันบุหรี. (คาร์บอนแบล็ค)เขม่าดำ (carbon black) เป็นสสารเกิดจากการเผาไหม้อย่างไม่สมบูรณ์ของน้ำมันชนิดต่างๆ เป็นต้นว่า น้ำมันดินที่เกิดจากการแตกโมเลกุลด้วยสารเร่งปฏิกิริยา น้ำมันถ่านหิน น้ำมันดินจากการแตกโมเลกุลของเอทิลีน และน้ำมันพืช โดยจัดเป็นเขม่าไร้รูปร่างรูปแบบหนึ่ง โดยส่วนใหญ่มักได้มาจากการเผาน้ำมันดิบ คุณลักษณะเด่นของคาร์บอนแบล็ค คือสีดำสนิต ปัจจุบัน ประเทศที่ผลิตคาร์บอนแบล็คมากและมีการขยายกำลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง จะเป็นประเทศที่เป็นผู้ส่งออกน้ำมันดิบราคาน้ำมันดิบอยู่ในต่ำ เช่นประเทศรัสเชีย โดยบริษัทยักษ์ใหญ่ เช่น มอสโกคาร์บอนโปดักส์ (Moscow Carbon Product)เป็นต้น คาร์บอนแบล็คมีการใช้ในจำนวนมากเช่นใน อุตสาหกรรมยาง สี และ พลาสติก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สารก่อมะเร็งและเขม่าดำ

สารก่อมะเร็งและเขม่าดำ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สารก่อมะเร็งและเขม่าดำ

สารก่อมะเร็ง มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขม่าดำ มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (9 + 2)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สารก่อมะเร็งและเขม่าดำ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: