เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สายหลักชูโอและโทไกโดชิงกันเซ็ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สายหลักชูโอและโทไกโดชิงกันเซ็ง

สายหลักชูโอ vs. โทไกโดชิงกันเซ็ง

หลักชูโอ หรือเรียกสั้นๆว่า สายชูโอ เป็นหนึ่งในทางรถไฟสายหลักในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมระหว่างโตเกียวและนะโงะยะ แม้ว่าการเดินทางระหว่างสองเมืองนี้ หากใช้สายหลักโทไกโดจะใช้เวลาที่สั้นกว่าก็ตาม ทางรถไฟสายนี้ถูกแบ่งออกเป็นสองช่วงก็คือ สายชูโอตะวันออก ที่ดำเนินงานโดย JR ตะวันออก และ สายชูโอตะวันตก ที่ดำเนินงานโดย JR ตอนกลาง โดยมีสถานีรถไฟชิโนะโนะอิเป็นสถานีเปลี่ยนผ่านเขตดำเนินงาน. | โทไกโด ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งเส้นทางแรก เปิดให้บริการในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สายหลักชูโอและโทไกโดชิงกันเซ็ง

สายหลักชูโอและโทไกโดชิงกันเซ็ง มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางชิโยดะ (โตเกียว)สายยามาโนเตะสายหลักโทไกโดสายโยะโกะซุกะสายเคโยนาโงยะโฮะกุริกุชิงกันเซ็งโจเอะสึชิงกันเซ็งโทโฮกุชิงกันเซ็งโตเกียวโตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิ

บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง

ริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลาง เป็นหนึ่งในบริษัทในกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น (JR Group) โดยมักใช้ชื่อเรียกอย่างย่อว่า JR ตอนกลาง ดำเนินการให้บริการรถไฟในภูมิภาคชูบุ (นะโงะยะ) ในปี..

บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางและสายหลักชูโอ · บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตอนกลางและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ชิโยดะ (โตเกียว)

แขวงชิโยดะ เป็น 1 ใน 23 แขวงการปกครองพิเศษของมหานครโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นเขตการปกครองอันเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการปกครองของประเทศ แขวงชิโยดะมีพื้นที่ 11.64 ตารางกิโลเมตร ในพื้นที่นี้เป็นพื้นที่ของพระราชวังหลวง ราว 12% ของพื้นที่ทั้งหมด ใน..

ชิโยดะ (โตเกียว)และสายหลักชูโอ · ชิโยดะ (โตเกียว)และโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สายยามาโนเตะ

มาโนเตะ เป็นเส้นทางรถไฟที่คับคั่งและสำคัญที่สุดสายหนึ่งของโตเกียว ให้บริการโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก โดยมีเส้นทางการวิ่งเป็นวงกลมรอบเมืองโตเกียว เชื่อมต่อย่านการค้าและย่านธุรกิจที่สำคัญ เช่น มะรุโนะอุชิ ยูระกุโช/กินซะ อุเอะโนะ อะกิฮะบะระ ชินจูกุ ชิบุยะ อิเกะบุกุโระ เป็นต้น มีสถานีทั้งสิ้น 29 สถานี แผนภาพเส้นทางและสถานี.

สายยามาโนเตะและสายหลักชูโอ · สายยามาโนเตะและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สายหลักโทไกโด

ทางรถไฟ สายหลักโทไกโด เป็นทางรถไฟที่ชุกชุมที่สุด ในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมระหว่างมหานครโตเกียว กับ นครโคเบะ ด้วยระยะทางทั้งหมด 589.5 กิโลเมตร โดยไม่นับเส้นทางขนส่งสินค้าระหว่างเมืองรายทาง อีกทั้งรถไฟความเร็วสูง โทไกโด ชิงกันเซ็ง ยังวิ่งขนานไปกับเส้นทางนี้ด้วย สายหลักโทไกโดถูกครอบครองและดำเนินงานโดย 3 บริษัทรถไฟญี่ปุ่น คือ.

สายหลักชูโอและสายหลักโทไกโด · สายหลักโทไกโดและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สายโยะโกะซุกะ

กะซุกะ เป็นเส้นทางรถไฟในประเทศญี่ปุ่น ให้บริการโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก เชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟโตเกียว เมืองโตเกียว กับสถานีรถไฟคุริฮะมะ เมืองโยะโกะซุกะ จังหวัดคะนะงะวะ ในทางการแล้วสายโยะโกะซุกะที่แท้จริงอยู่ระหว่างสถานีรถไฟโอฟุนะ กับสถานีรถไฟคุริฮะมะ แต่ในการบริการนั้นเรียกโดยรวมทั้งเส้นว่าสายโยะโกะซุกะ มีความยาวทั้งสิ้น 73.3 กิโลเมตร จำนวน 19 สถานี.

สายหลักชูโอและสายโยะโกะซุกะ · สายโยะโกะซุกะและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สายเคโย

() เป็นเส้นทางรถไฟระหว่างโตเกียวและจังหวัดชิบะ ขนานไปตามชายฝั่งอ่าวโตเกียว บริหารโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก เป็นส่วนหนึ่งในเส้นทาง "โตเกียวเมก้าลูป" รอบโตเกียว เมื่อเชื่อมต่อเส้นทางกับสายมุซะชิโนะ สายนัมบุ และสายโยะโกะฮะม.

สายหลักชูโอและสายเคโย · สายเคโยและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

นาโงยะ

นครนาโงยะ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคชูบุ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกบนเกาะฮนชู เป็นเมืองเอกของจังหวัดไอชิและเป็นหนึ่งในเมืองท่าหลักของญี่ปุ่น ซึ่งประกอบด้วย โตเกียว, โอซะกะ, โคเบะ, โยะโกะฮะมะ, ชิบะ และ คิตะกีวชู นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางของเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับสามของญี่ปุ่นที่เรียกว่า เขตมหานครชูเกียว ซึ่งมีประชากรกว่า 9.1 ล้านคน.

นาโงยะและสายหลักชูโอ · นาโงยะและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โฮะกุริกุชิงกันเซ็ง

กุริกุชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) และบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก (JR ตะวันตก) เชื่อมต่อรถไฟความเร็วสูงสายอื่นจากมหานครโตเกียว ให้สามารถเดินทางได้ถึงเมืองคะนะซะวะ ช่วงแรกของเส้นทางตั้งแต่ทะกะซะกิถึงเปิดเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ในชื่อว่า นะงะโนะชิงกันเซ็ง.

สายหลักชูโอและโฮะกุริกุชิงกันเซ็ง · โทไกโดชิงกันเซ็งและโฮะกุริกุชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โจเอะสึชิงกันเซ็ง

อะสึชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูง เชื่อมระหว่างกรุงโตเกียวและนครนีงะตะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก).

สายหลักชูโอและโจเอะสึชิงกันเซ็ง · โจเอะสึชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โทโฮกุชิงกันเซ็ง

รถไฟญี่ปุ่นตะวันออก สายโทะโฮะกุ ชิงกันเซ็ง เป็นเส้นทางรถไฟความเร็วสูงในญี่ปุ่น เชื่อมระหว่าง มหานครโตเกียว และเมืองอาโอโมริ จังหวัดอาโอโมริ มีความยาวทั้งหมด 647.9 กิโลเมตร จัดว่าเป็นชิงกันเซ็งสายที่ยาวที่สุด ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก.

สายหลักชูโอและโทโฮกุชิงกันเซ็ง · โทโฮกุชิงกันเซ็งและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

สายหลักชูโอและโตเกียว · โตเกียวและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิ

ตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิ (สาย 4) เป็นเส้นทางของโตเกียวเมโทร ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีแนวเส้นทางรูปตัวยู แบ่งเป็นสายหลักและสายย่อย ชื่อทางการคือ สาย 4 สายมะรุโนะอุชิ (4号線丸ノ内線) นับเป็นเส้นทางที่สองที่เปิดให้บริการ และเป็นเส้นทางแรกที่ก่อสร้างหลังจากช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

สายหลักชูโอและโตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิ · โตเกียวเมโทรสายมะรุโนะอุชิและโทไกโดชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สายหลักชูโอและโทไกโดชิงกันเซ็ง

สายหลักชูโอ มี 48 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทไกโดชิงกันเซ็ง มี 59 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 11.21% = 12 / (48 + 59)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สายหลักชูโอและโทไกโดชิงกันเซ็ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: