โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกและเอเชียกลาง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกและเอเชียกลาง

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก vs. เอเชียกลาง

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก (Tajik SSR; Республикаи Советии Социалистии Тоҷикистон; Таджикская Советская Социалистическая Республика) เป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1929 และล่มสลายในปี 1991โดยเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "สาธารณรัฐทาจิกีสถาน" หมวดหมู่:สาธารณรัฐโซเวียต หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ทาจิกิสถาน. แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกและเอเชียกลาง

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกและเอเชียกลาง มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษารัสเซียภาษาทาจิกดูชานเบ

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ภาษารัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก · ภาษารัสเซียและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ภาษาทาจิกและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก · ภาษาทาจิกและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ดูชานเบ

ูชานเบ (Душанбе) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศทาจิกิสถาน คำว่า ดูชานเบ ในภาษาทาจิก มีความหมายว่า "วันจันทร์" ซึ่งเป็นชื่อที่มาจากข้อเท็จจริงที่เมืองเป็นสถานที่ตั้งของหมู่บ้านที่มีชื่อเสียงเรื่องตลาดวันจันทร.

ดูชานเบและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก · ดูชานเบและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกและเอเชียกลาง

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอเชียกลาง มี 46 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 5.88% = 3 / (5 + 46)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกและเอเชียกลาง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »