โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและไฮดรา (เทพปกรณัม)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและไฮดรา (เทพปกรณัม)

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก vs. ไฮดรา (เทพปกรณัม)

ัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibians) เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Amphibia อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก มีลักษณะเฉพาะ คือ ผิวหนังมีต่อมเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปียกลื่นอยู่เสมอ ไม่มีเกล็ดตัวไม่แห้งหรือไม่มีขน หายใจด้วยเหงือก, ปอด, ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ โดยชั้นผิวหนังนั้นมีลักษณะพิเศษสามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เนื่องจากมีโครงข่ายหลอดเลือดฝอยจำนวนมาก เพื่อใช้ในการหายใจ สืบพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลำตัว สืบพันธุ์เมื่ออายุ 2–3 ปี ออกลูกเป็นไข่อยู่ในน้ำ ไม่มีเปลือก วางไข่เป็นกลุ่มในน้ำมีสารเป็นวุ้นหุ้ม ลูกอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างคล้ายปลาเรียกว่า "ลูกอ๊อด" อยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วมีปอดหายใจ ขึ้นบกได้ แต่ต้องอยู่ใกล้น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทั้งภายนอกและภายในอย่างสิ้นเชิง ไปตามวงจรชีวิต ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ หายใจด้วยเหงือก เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนรูปร่างอาศัยอยู่บนบก หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งในช่วงระหว่างฤดูหนาวถึงฤดูร้อน ส่วนใหญ่จะขุดรูจำศีล เพื่อหนีความแห้งแล้ง มิให้ผิวหนังแห้ง ถ้าผิวหนังแห้งจะหายใจไม่ได้และตายในที่สุด เพราะก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้ำเมือกที่ผิวหนัง แล้วจึงแพร่เข้าสู่กระแสโลหิต ระยะนี้จะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่างกายอย่างช้า ๆ นิวต์และซาลามานเดอร์ก็เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเหมือนกัน แต่แตกตางกันตรงที่นิวต์และซาลามานเดอร์จะยังคงหางของมันไว้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกถือเป็นสัตว์เลือดเย็นเช่นเดียวกับสัตว์พวกปลา หรือแมลง หรือสัตว์เลื้อยคลาน ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานสัตว์ในชั้นแล้วกว่า 6,500 ชน. ราคลีสสังหารไฮดราบนกระเบื้องโมเสกในยุคโรมันโบราณ ไฮดรา (Λερναία Ύδρα; Hydra) เป็นสัตว์ประหลาดในเทพปกรณัมกรีก มีลักษณะเด่น คือ มีหลายหัว แต่ละหัวคล้ายงู ไฮดรามีหัวทั้งหมด 9 หัว เมื่อแต่ละหัวที่ถูกตัดจะมีหัวงอกขึ้นใหม่ได้ไม่มีที่สิ้นสุด บางปกรณัมกล่าวว่ามี 100 หัว บ้างก็ว่าไฮดรามีลำตัวคล้ายสุนัข ร่างกายปกคลุมด้วยเกล็ดและมีหางเหมือนมังกร ลมหายใจของไฮดรา มีอันตรายถึงขนาดที่ทำให้ผู้ที่เข้าไกล้ถึงแก่ความตาย ไฮดราเป็นทายาทของไทฟอนและอีคิดนา ไฮดรา อาศัยอยู่ที่ทะเลสาบเลอนา และถูกปราบโดยเฮราคลีส จัดเป็นหนึ่งในภารกิจ 12 ประการของเฮราคลีส ไฮดรา ถูกอ้างอิงถึงในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากมาย เช่น การ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย่า โดยเป็นหนึ่งในตัวละครที่เป็นระดับบรอนต์เซนต์ มีชื่อว่า ไฮดรา อ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและไฮดรา (เทพปกรณัม)

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและไฮดรา (เทพปกรณัม) มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): เทพปกรณัมกรีก

เทพปกรณัมกรีก

รูปปั้นครึ่งตัวของซูส, ที่เมือง Otricoli พิพิธภัณฑ์ Pio-Clementino วาติกัน) เทพปกรณัมกรีก (ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นเรื่องปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ เทพปกรณัมกรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานเทพปกรณัมขึ้น เทพปกรณัมกรีกได้ถูกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อน..

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและเทพปกรณัมกรีก · เทพปกรณัมกรีกและไฮดรา (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและไฮดรา (เทพปกรณัม)

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก มี 71 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไฮดรา (เทพปกรณัม) มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.30% = 1 / (71 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและไฮดรา (เทพปกรณัม) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »