โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สะพานพิทยเสถียรและแยกไมตรีจิตต์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สะพานพิทยเสถียรและแยกไมตรีจิตต์

สะพานพิทยเสถียร vs. แยกไมตรีจิตต์

นพิทยเสถียร สะพานพิทยเสถียร เป็นหนึ่งในสะพานที่สร้างข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ในพื้นที่แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โดยมีประวัติและที่มาควบคู่ไปกับสะพานดำรงสถิต หรือที่นิยมเรียกว่าสะพานเหล็ก ที่ข้ามคลองโอ่งอ่าง ในเขตพระนคร สะพานพิทยเสถียรตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุงช่วงที่มาจากเขตบางรัก ในช่วงที่ตัดกับถนนมหาพฤฒาราม ที่มุ่งหน้ามาจากถนนพระราม 4 ใกล้กับแยกไมตรีจิตต์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อโปรดให้ประกาศบอกบุญผู้ที่มีจิตศรัทธา ให้ช่วยกันสร้างสะพานข้ามคูคลองในพระนครนั้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงค์ (ช่วง บุนนาค) ได้สร้างเป็นสะพานโครงเหล็กคู่กับสะพานดำรงสถิต เรียกว่า "สะพานเหล็กล่าง" (ในขณะที่สะพานดำรงสถิต เรียกว่า "สะพานเหล็กบน") พื้นสะพานข้างล่างมีล้อ และรางเหล็กสำหรับเปิดสะพานให้แยกจากกันได้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดให้กรมโยธาธิการสร้างใหม่ในพุทธศักราช 2442 เป็นสะพานโครงเหล็กเปิดได้เช่นเดียวกันกับสะพานดำรงสถิต พระราชทานนามว่า "สะพานพิทยเสถียร" เพื่อเป็นเกียรติแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา ซึ่งมีวังที่ประทับอยู่ในบริเวณใกล้เคียง สร้างเสร็จในพุทธศักราช 2443 ในรัชกาลที่ 6 โปรดให้ปรับปรุงสะพานนี้ใหม่ ซึ่งคือสะพานที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน สภาพสะพานเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก มีสถาปัตยกรรมแบบเวนีเชียน มีคานล่างเป็นรูปโค้ง สะพานนี้มีลวดลายตกแต่งประณีตงดงามมาก โดยเฉพาะเสาลูกกรง เสาโคมไฟฟ้าทั้ง 8 ต้น ตลอดจนลายหัวสิงห์ที่ปลายรอดสะพาน ทั้งสะพานพิทยเสถียรและสะพานดำรงสถิต ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยกรมศิลปากรตั้งแต่พุทธศักราช 2518. แยกไมตรีจิตต์ (Maitri Chit Intersection) เป็นทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นห้าแยกตัดกันระหว่างถนนไมตรีจิตต์, ถนนมิตรภาพไทย-จีน, ถนนพระราม 4, ถนนกรุงเกษม และซอยโปริสภา ซึ่งเป็นซอยหนึ่งของถนนข้าวหลาม แยกไมตรีจิตต์ อยู่บริเวณเชิงสะพานเจริญสวัสดิ์ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมในด้านที่มาจากแยกหัวลำโพง อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟหัวลำโพง ถือได้ว่าเป็นจุดที่เริ่มต้นเข้าสู่ย่านเยาวราช หรือไชน่าทาวน์ของกรุงเทพมหานคร และยังเป็นจุดตัดระหว่างพื้นที่เขตสามเขตอีกด้วย คือ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตปทุมวัน ชื่อ "ไมตรีจิตต์" มาจากชื่อของถนนไมตรีจิตต์ อันเป็นถนนสายหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ระลึกถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่ประเทศไทยได้เข้าร่วม เช่นเดียวกับ วงเวียน 22 กรกฎาคม, ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ ที่สร้างขึ้นในวาระเดียวกัน บริเวณใกล้ทางแยก ทางฝั่งถนนไมตรีจิตต์ ยังเป็นที่ตั้งของศาสนสถานสองแห่งในสองศาสนา สองความเชื่อที่แตกต่างกัน คือ คริสตจักรไมตรีจิต เป็นคริสตจักรแบบโปรเตสแตนต์แห่งแรกในประเทศไทยและของทวีปเอเชียด้วย โดยก่อตั้งมาตั้งแต..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สะพานพิทยเสถียรและแยกไมตรีจิตต์

สะพานพิทยเสถียรและแยกไมตรีจิตต์ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกรุงเทพมหานครถนนพระรามที่ 4คลองผดุงกรุงเกษมเขตสัมพันธวงศ์

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและสะพานพิทยเสถียร · พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและแยกไมตรีจิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและสะพานพิทยเสถียร · กรุงเทพมหานครและแยกไมตรีจิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 4

นนพระรามที่ 4 ช่วงสวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 (Thanon Rama IV) เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ทางแยกหมอมี (แยกจากถนนเจริญกรุง) ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่สะพานเจริญสวัสดิ์ ผ่านสถานีหัวลำโพง สามย่าน ไปบรรจบถนนสุขุมวิท.

ถนนพระรามที่ 4และสะพานพิทยเสถียร · ถนนพระรามที่ 4และแยกไมตรีจิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองผดุงกรุงเกษม

ลองผดุงกรุงเกษมบริเวณสะพานเจริญสวัสดิ์ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5) คลองผดุงกรุงเกษม ในปัจจุบัน คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองรอบพระนครชั้นนอก ขุดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ขุดเมื่อ..

คลองผดุงกรุงเกษมและสะพานพิทยเสถียร · คลองผดุงกรุงเกษมและแยกไมตรีจิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสัมพันธวงศ์

ตสัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม.

สะพานพิทยเสถียรและเขตสัมพันธวงศ์ · เขตสัมพันธวงศ์และแยกไมตรีจิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สะพานพิทยเสถียรและแยกไมตรีจิตต์

สะพานพิทยเสถียร มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ แยกไมตรีจิตต์ มี 32 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 9.80% = 5 / (19 + 32)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สะพานพิทยเสถียรและแยกไมตรีจิตต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »