โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย vs. สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

มาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (Asian Football Confederation) หรือ เอเอฟซี (AFC) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล เอเอฟซีเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า เอเอฟซีก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2497 ที่ มะนิลา ในประเทศฟิลิปปินส์ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ย้ายมาอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซี. หพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Fédération Internationale de Football Association) หรือ ฟีฟ่า (FIFA) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬาฟุตบอลระหว่างประเทศ และเป็นองค์กรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลกฟุตบอลโลกฟุตบอลโลกหญิงฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปีฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปีฟุตซอลชิงแชมป์โลกฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพยูฟ่าสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนียอันดับโลกฟีฟ่าคณะกรรมการโอลิมปิกสากล

ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก

ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก (FIFA Beach Soccer World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายหาดระดับโลกที่จัดโดยฟีฟ่า เริ่มจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ที่ประเทศบราซิล และมีการจัดต่อเนื่องทุก 1 ปี จนถึงปี พ.ศ. 2552 จึงได้เปลี่ยนเป็นจัดทุก 2 ปี.

ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลกและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลกและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก

ฟุตบอลโลก หรือ ฟุตบอลโลกฟีฟ่า (FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศโดยมีชุดทีมชาติชายร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ (ฟีฟ่า) การแข่งขันจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1930 ใน ฟุตบอลโลก 1930 ยกเว้นในปี..

ฟุตบอลโลกและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตบอลโลกและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกหญิง

ฟุตบอลโลกหญิง (FIFA Women's World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับโลกสำหรับทีมชาติทีมหญิงเช่นเดียวกับ ฟุตบอลโลก จัดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศจีน เมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยครั้งล่าสุดฟุตบอลโลกหญิง 2015 จัดขึ้นที่แคนาดาในปี พ.ศ. 2558 ครั้งต่อไปจัดขึ้นที่ฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2562.

ฟุตบอลโลกหญิงและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตบอลโลกหญิงและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี (FIFA U-17 World Cup) เดิมก่อตั้งในชื่อ ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 16 (FIFA U-16 World Championship และใช้ชื่อว่า FIFA U-17 World Championship ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนชาย อายุไม่เกิน 17 ปี ดำเนินงานโดยฟีฟ่า และในปี 2551 ได้มีการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี เช่นกัน เริ่มแข่งขันครั้งแรกในปี..

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปีและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปีและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี

ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 20 (FIFA U-20 World Cup หรือชื่อเดิมคือ FIFA World Youth Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายในระดับเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี จัดโดยฟีฟ่า เริ่มจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2520 ที่ประเทศตูนีเซีย และมีการจัดต่อเนื่องทุก 2 ปี และในปี 2545 ได้มีการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี เช่นกัน โดยการแข่งขันครั้งต่อไปจะจัดขึ้นที่ ประเทศตุรกี ระหว่างวันที่ 21 มิถุนายน-13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556.

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปีและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปีและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลชิงแชมป์โลก

การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก (FIFA Futsal World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตซอลระหว่างประเทศที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ภายใต้การควบคุมของฟีฟ่า จัดขึ้นทุกๆ 4 ปี เว้นระยะจากการแข่งขันฟุตบอลโลก 2 ปี จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี..1989 ภายหลังจากการแข่งขันรอบคัดเลือกตามทวีปต่างๆ มีทีมที่เข้าแข่งขันรอบสุดท้ายทั้งสิ้น 24 ทีม ดังนี้ ทวีปเอเชีย 4 ทีม ทวีปแอฟริกา 3 ทีม ทวีปอเมริกาเหนือ 4 ทีม ทวีปเอมริกาใต้ 4 ทีม โอเชียเนีย 1 ทีม ทวีปยุโรป 7 ทีม และเจ้าภาพ 1 ทีม.

ฟุตซอลชิงแชมป์โลกและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตซอลชิงแชมป์โลกและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ

อนเฟเดอเรชันส์คัพ (Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลที่จัดขึ้นทุกสี่ปีโดยฟีฟ่า เป็นการแข่งขันระหว่างทีมที่ชนะเลิศจากแต่ละภูมิภาคทั่วโลก (เอเชียนคัพ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ โกลด์คัพ โคปาอเมริกา โอเอฟซีเนชันส์คัพ และ ยูโร) พร้อมทั้งทีมที่ชนะฟุตบอลโลกครั้งล่าสุดและทีมเจ้าภาพในปีถัดไป ซึ่งจะมีทั้งหมด 8 ทีม โดยเริ่มแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในชื่อ คิงฟาฮัดคัพที่จัดขึ้นที่ซาอุดีอาระเบีย และในปี พ.ศ. 2540 ทางฟีฟ่าได้มาเป็นผู้จัดการการแข่งขันทั้งหมด แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด ผู้ชนะครั้งล่าสุดคือทีมชาติบราซิล โดยได้มีการจัดขึ้นก่อนฟุตบอลโลก 2014 ที่จัดขึ้นที่ประเทศบราซิล และในปี พ.ศ. 2560 ฟุตบอลคอนเฟเดอเรชันส์คัพจะจัดขึ้นที่ประเทศรัสเซีย ก่อนการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018.

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่า

หภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (Union of European Football Associations) หรือ ยูฟ่า (UEFA; ในต่างประเทศยกเว้นประเทศไทย เรียกว่า ยูเอฟา หรือ อูเอฟา) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปยุโรป จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล ยูฟ่าเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า ยูฟ่าก่อตั้งเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่เมืองบาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ยูฟ่าและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ยูฟ่าและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย

มาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (Oceania Football Confederation, Confédération du football d'Océanie) หรือ โอเอฟซี (OFC) เป็นสมาพันธ์ฟุตบอลที่ดูแลการจัดการแข่งขันฟุตบอลในพื้นที่ทวีปโอเชียเนีย โดยสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนียเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า สมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนียก่อตั้งขึ้นในปี..

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย · สมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนียและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับโลกฟีฟ่า

อันดับโลกฟีฟ่า (FIFA World Rankings) เป็นระบบการจัดอันดับทีมฟุตบอลทีมชาติที่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า อันดับจะถูกคำนวณจากแต้มความสำเร็จของแต่ละทีมจากผลแพ้ชนะในในแต่ละทีมจากผลแพ้ชนะ ทีมที่ชนะหรือเสมอจะได้แต้มจากการแข่งขันซึ่งคำนวณจากปัจจัยต่างๆ โดยแต้มทั้งหมดจะถูกสะสมจากการแข่งขันในช่วงสี่ปีที่ผ่านมา ซึ่งระบบใหม่ที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ได้ถูกนำมาใช้ภายหลังจากการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2006 ที่ผ่านมา โดยใช้ครั้งแรก วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยใช้ทดแทนระบบเก่าที่การคำนวณซับซ้อนและการคำนวณแต้มสะสมย้อนหลังแปดปี ที่ไม่แสดงถึงความสามารถของทีมในปัจจุบัน อันดับโลกฟีฟ่าเริ่มถูกนำมาใช้ครั้งแรกในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ภายใต้ชื่อ "โคคาโคล่าเวิลด์แรงกิง" สนับสนุนโดยโคคาโคล่า และใช้กันอย่างต่อเนื่องโดยมีการจัดอันดับในทุกเดือน จนกระทั่งไป ในปี 2542 ได้มีการปรับปรุงระบบการคำนวณครั้งหนึ่งและในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการปรับปรุงระบบอีกครั้งเหมือนตามที่ใช้ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามทีมที่จะถูกจัดอันดับนั้นจำเป็นต้องแข่งขันอย่างน้อย 5 นัดภายในปีนั้น ส่วนทีมชาติหญิงนั้นจะใช้การจัดอันดับในรูปแบบอื่น การคำนวณอันดับนี้จะมีผลเฉพาะการแข่งขันฟุตบอลของทีมปกติซึ่งจะไม่นับผลการแข่งขันของทีมเยาวชน รวมไปถึงมหกรรมกีฬาที่บรรจุการแข่งขันฟุตบอลรวมอยู่ด้วย เช่น เอเชียนเกมส์ โอลิมปิก หรือซีเกม.

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและอันดับโลกฟีฟ่า · สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศและอันดับโลกฟีฟ่า · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกสากล

ณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee: IOC) เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในกระบวนการโอลิมปิก จัดตั้งขึ้นครั้งแรกวันที่ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1894 โดยปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง นักการศึกษาชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจที่จะฟื้นฟูกีฬาโอลิมปิกในสมัยกรีกโบราณ คณะกรรมการโอลิมปิกสากล ประกอบด้วยคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee หรือ NOC) ของประเทศต่าง ๆ ประกอบกันเป็นประเทศสมาชิก โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากลมีหน้าที่ควบคุมคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศสมาชิกทั่วโลก ให้ดำเนินงานจัดการแข่งขันให้เป็นไปตามหลักการและอุดมการณ์ของกีฬาโอลิมปิก.

คณะกรรมการโอลิมปิกสากลและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · คณะกรรมการโอลิมปิกสากลและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย มี 114 ความสัมพันธ์ขณะที่ สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ มี 27 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 7.80% = 11 / (114 + 27)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »