สสารและอัตราส่วนของปัวซอง
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง สสารและอัตราส่วนของปัวซอง
สสาร vs. อัตราส่วนของปัวซอง
ว. Figure 1: Rectangular specimen subject to compression, with Poisson's ratio circa 0.5 เมื่อตัวอย่างวัสดุถูกดึงในทิศหนึ่ง อีกสองทิศจะบางลง อัตราส่วนของปัวซอง (ν, \mu) ซึ่งเป็นชื่อหลังของ ซีเมยอง ปัวซอง เป็นค่าที่วัดได้เนื่องจากความบางลงนี้ อัตราส่วนของปัวซองเป็นอัตราส่วนการหดสั้นสัมพัทธ์ คือ ความเครียด หรือความเครียดตามขวาง (ตั้งฉากกับแรงที่กระทำ) หารด้วยความเครียดที่ขยายออกสัมพัทธ์ (ในทิศเดียวกับแรงที่กระทำ) สำหรับวัสดุแบบ perfectly incompressible อัตราส่วนของปัวซองจะมีค่าเท่ากับ 0.5 พอดี ส่วนวัสดุทางวิศวกรรมในทางปฏิบัติส่วนใหญ่จะมีค่า ν ระหว่าง 0.0 ถึง 0.5 คอร์กจะมีค่าใกล้ 0.0 เหล็กส่วนใหญ่อยู่ที่ประมาณ 0.3 และยางมีค่าเกือบ 0.5 ในบางวัสดุ เช่นโฟมของพอลิเมอร์ส่วนใหญ่ จะมีค่าอัตราส่วนของปัวซองเป็นลบ ถ้า auxetic material เหล่านี้ถูกดึงในทิศหนึ่ง มันจะหนาขึ้นในทิศที่ตั้งฉากกับมันด้วย สมมุติว่าวัตถุถูกอัดตามแนวแกน y (ดูภาพ 1): เมื่อ \nu_ คือค่าอัตราส่วนของปัวซอง \epsilon_x คือความเครียดตามขวาง และ \epsilon_y คือความเครียดตามแกนของแรง ในการมองอย่างผิวเผิน อัตราส่วนของปัวซองที่มากกว่า 0.5 ดูเหมือนจะเป็นไปไม่ได้ เพราะที่ความเครียดค่าหนึ่ง วัสดุจะมีปริมาตรเข้าใกล้ศูนย์ และถ้ามากกว่านั้นวัสดุจะมี "ปริมาตรเป็นลบ" อย่างไรก็ตาม ค่าอัตราส่วนปัวซองที่ประหลาดมักจะเป็นผลจากวัสดุที่มีโครงสร้างซับซ้อน.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สสารและอัตราส่วนของปัวซอง
สสารและอัตราส่วนของปัวซอง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ สสารและอัตราส่วนของปัวซอง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง สสารและอัตราส่วนของปัวซอง
การเปรียบเทียบระหว่าง สสารและอัตราส่วนของปัวซอง
สสาร มี 0 ความสัมพันธ์ขณะที่ อัตราส่วนของปัวซอง มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (0 + 2)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สสารและอัตราส่วนของปัวซอง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: