เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ดัชนี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

สารบัญ

  1. 342 ความสัมพันธ์: ชัยพฤกษ์ชาจีนบีเอ็มดับเบิลยูพ.ศ. 2502พ.ศ. 2515พ.ศ. 2520พ.ศ. 2521พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2555พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพุทธเจ้าพระยศเจ้านายไทยพระราชวังดุสิตพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถพระที่นั่งอัมพรสถานพระตำหนักจิตรลดารโหฐานพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำสิรินธรพิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินพิธีสำเร็จการศึกษา... ขยายดัชนี (292 มากกว่า) »

  2. ชาวไทยเชื้อสายมอญ
  3. นักการกุศลชาวไทย
  4. นักการทูตชาวไทย
  5. นักวิทยุสมัครเล่นชาวไทย
  6. นักแปลชาวไทย
  7. นายพลชาวไทย
  8. บุคคลจากมหาวิทยาลัยศิลปากร
  9. ผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ
  10. ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ภ.
  11. พระราชบุตรในรัชกาลที่ 9
  12. พลอากาศโทชาวไทย
  13. พลเรือเอกชาวไทย
  14. ราชกุมารี
  15. ราชสกุลมหิดล
  16. ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยปักกิ่ง
  17. เจ้าฟ้าหญิง

ชัยพฤกษ์

ใบและดอกของชัยพฤกษ์ ชัยพฤกษ์ (Java Cassia, Pink Shower, Apple Blossom Tree, Rainbow Shower Tree) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) ดอกสีชมพูเข้ม เมื่อออกดอกไม่ทิ้งใบ ฝ้กเกลี้ยงใช้ทำยาได้ มีถิ่นกำเนิดในอินโดนีเซียและประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและชัยพฤกษ์

ชาจีน

ใบชาเขียวตามที่ราบสูงในไก หวัน ชาจีน เป็น เครื่องดื่มที่ทำมาจากใบชาจากแหล่งปลูกชา (คาเมลเลีย ไซเนนซิส) และผ่านน้ำร้อน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและชาจีน

บีเอ็มดับเบิลยู

ตราสัญลักษณ์ สำนักงานใหญ่บีเอ็มดับเบิลยู เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี บีเอ็มดับเบิลยู (BMW ย่อจาก ภาษาเยอรมัน: Bayerische Motoren Werke; Bavarian Motor Works) เป็นบริษัทผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของเยอรมนี ตั้งอยู่ที่เมืองมิวนิก ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและบีเอ็มดับเบิลยู

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2502

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2515

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2520

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2521

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2523

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2524

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2525

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2526

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2527

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2528

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2529

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2530

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2531

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2532

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2533

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2534

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2538

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2539

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2543

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2544

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2545

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2546

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2547

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2548

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2549

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2553

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2555

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2558

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพ.ศ. 2560

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระพุทธเจ้า

ระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความสำคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัทรกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสำคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมีพระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากตำนานของเถรวาท ผู้ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้าต้องบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์ก่อน เมื่อบารมีเต็มแล้วจึงจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย พระพุทธเจ้าทุกพระองค์มีลักษณะพิเศษตรงกันคือ เป็นมนุษย์เพศชายเกิดในวรรณะกษัตริย์หรือพราหมณ์ พระวรกายสมบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักขณะ ก่อนออกผนวชจะอภิเษกสมรสมีพระโอรสพระองค์หนึ่ง หลังจากนั้นทรงพบเทวทูตทำให้ตัดสินใจออกผนวช วันออกผนวชจะตรงกับวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธ ถือกันว่าพระโคตมพุทธเจ้าดำรงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง 80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปีก่อนคริสตกาลตามตำราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทย และ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระพุทธเจ้า

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระยศเจ้านายไทย

พระราชวังดุสิต

ระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับร้อนจัด ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ ต่อมา จึงสร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล โดยได้สร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระราชวังดุสิต

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์

ลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 - 13 กันยายน พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าสาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อ..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

ลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

พระที่นั่งอัมพรสถาน

ระที่นั่งอัมพรสถาน ก่อนการบูรณะ พระที่นั่งอัมพรสถาน เป็นพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระราชวังดุสิต ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระที่นั่งอัมพรสถาน

พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน

ระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เป็นพระตำหนักในพระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่9.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์

ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ (ประสูติ: 8 ตุลาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กับนาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศริน เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์

พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำสิรินธร

ัณฑ์สัตว์น้ำจังหวัดหนองคาย เป็นสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ ที่จัดแสดงพันธุ์ปลาต่างๆ ทั้งปลาน้ำจืดและปลาน้ำเค็ม เป็นหน่วยงานหนึ่งของ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดหนองคาย และเพื่อตอบสนองต่อเป้าประสงค์ในการเป็นศูนย์กลางการศึกษา การวิจัยด้านการประมง การรวบรวมพันธุ์ปลาในลุ่มน้ำโขง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำสิรินธร

พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนิน

ัณฑ์ตำหนักปลายเนิน พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนิน หรือ วังคลองเตย ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพฯ แต่เดิมเป็นพระตำหนักที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงใช้เป็นที่ประทับชั่วคราวในเบื้องแรกและทรงเป็นที่ประทับถาวรในเวลาต่อมา ปัจจุบันตำหนักปลายเนินนี้ได้ใช้เป็นสถานที่จัดงานวันนริศฯ โดยมูลนิธิสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ซึ่งจัดเป็นประจำในวันที่ 28 เมษายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันประสูติของสมเด็จฯ กรมพระยานริศฯ และเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าชมได้ในวันที่ 29 เมษายน ของทุกปี ในเวลาราชการ โดยไม่เสียค่าใช้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนิน

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพิธีสำเร็จการศึกษา

พุทธมณฑล

ทธมณฑล (อังกฤษ: Buddha Monthon)เป็นสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา อยู่ใน ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ 2,500 ไร่ สร้างขึ้นเพื่อฉลองวาระกึ่งพุทธกาล เมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและพุทธมณฑล

กฎหมาย

กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของสังหาชิดมทรัพย์ส่วนตัวและอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายทรัสต์ (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุนและความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิหรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความเสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎหมายอาญาให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้ กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติกฎหมาย การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการเลือกตั้งผู้แทนทางการเมือง กฎหมายปกครองใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่กฎหมายระหว่างประเทศควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราชในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อมหรือการปฏิบัติทางทหาร นักปรัชญากรีก อริสโตเติล เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใด ๆ" ระบบกฎหมายกล่าวถึงสิทธิและความรับผิดชอบในหลายวิถีทาง ความแตกต่างทั่วไปสามารถตัดสินได้ระหว่างเขตอำนาจซีวิลลอว์ ซึ่งประมวลกฎหมายของตน และระบบคอมมอนลอว์ ที่ซึ่งผู้พิพากษาบัญญัติกฎหมายนั้นไม่ถูกรวบรวม ในบางประเทศ ศาสนาเป็นที่มาของกฎหมาย กฎหมายเป็นบ่อเกิดอันมีคุณค่าของการสอบสวนอย่างคงแก่เรียน ไปยังประวัติศาสตร์กฎหมาย ปรัชญา การวิเคราะห์เศรษฐกิจหรือสังคมวิทยา กฎหมายยังยกประเด็นที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวข้องกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ผู้ประพันธ์ อานาตอล ฟร็องส์ กล่าวใน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกฎหมาย

กรมการแพทย์

กรมการแพทย์ เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ดำเนินการเกี่ยวกับการแพทย์ เช่น การพัฒนาการแพทย์ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับการแพทย์ เป็นต้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกรมการแพทย์

กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์

กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ (อักษรย่อ: ร.1 รอ.) มีชื่อเต็มว่า กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหน่วยทหารรักษาพระองค์ที่ตั้งขึ้นหน่วยแรกสุดของประเทศไทย มีหน้าที่ถวายความปลอดภัยและถวายพระเกียรติแด่พระมหากษัตริย์, สมเด็จพระราชินี, พระรัชทายาท, ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์อย่างใกล้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์

กรมประมง

กรมประมง (Department of Fisheries) เป็น หน่วยงานของรัฐที่ทำการศึกษา ค้นคว้า สำรวจ วิจัย วิเคราะห์ ทดลอง ด้านวิชาการทุกสาขาวิชาการของประมง ตลอดจนทำการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนา อาชีพที่เกี่ยวกับการประมงของประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต เดิม กรมการประมง เป็นกรมสังกัด กระทรวงเศรษฐการ (ราชการส่วนเกษตร) และย้ายมาสังกัดกระทรวงเกษตราธิการ ในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกรมประมง

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกรุงเทพมหานคร

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกลุ่มภาษาจีน

กลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนก

ตราพระราชทาน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร เป็นหน่วยงานส่วนกลางที่ประจำอยู่ในส่วนภูมิภาค สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข โดยในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนก

กษัตริยานุสรณ์

กษัตริยานุสรณ์ เป็นพระราชนิพนธ์ร้อยกรอง ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกษัตริยานุสรณ์

กองอาสารักษาดินแดน

กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกองอาสารักษาดินแดน

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกองทัพบกไทย

กองทัพอากาศไทย

กองทัพอากาศไทย (อักษรย่อ: ทอ., '''Royal Thai Air Force''': '''RTAF'''.) เกิดขึ้นภายหลังจากการจัดตั้งกองทัพอากาศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นกองทัพอากาศหน่วยแรกของโลกเพียง 4 ปีเท่านั้น ถือได้ว่าเป็นกองทัพอากาศที่ก่อตั้งเป็นลำดับแรกๆ ของเอเชีย และมีวีรกรรมครั้งสำคัญเกิดขึ้นมากมายในช่วงกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส ปัจจุบันมีกองบัญชาการอยู่ที่เขตสายไหม เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร และภายในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกองทัพอากาศไทย

กองทัพเรือไทย

กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่างๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและกองทัพเรือไทย

การรู้หนังสือ

thumb การรู้หนังสือ (literacy) คือ ความสามารถที่เข้าใจภาษาในระดับที่เหมาะกับการติดต่อสื่อสาร และโดยทั่วไปทำให้ทำงานได้สมบูรณ์ตามระดับสังคมต่างๆ มาตรฐานสำหรับการรู้หนังสือ มีความหลากหลายระหว่างสังคม เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์ หรืออาจจะรวมถึงพื้นฐานทางตัวเลข มีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือได้ แต่สามารถอ่านตัวเลขได้ และบางส่วนอาจเคยเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่รู้หนังสือมาก่อน แต่จะอาศัยการออกเสียง รูปภาพและส่วนประกอบกราฟิกในรูปแบบของดิจิทัล ซึ่งจะเห็นได้ว่า ไม่จำเป็นต้องอ่านออก เขียนได้ แต่เราก็สามารถรับรู้ได้จากวิธีที่หลากหลายตามแนวความคิดของ การรู้หนังสือ สถาบันการศึกษาของอังกฤษ มีการเพิ่มการแสดงแบบสมจริง ในรายการของการสื่อสาร เพื่อเป็นการยกระดับ การรู้หนังสือ อีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีการวิจัยออกมาว่า อัตราความสามารถการอ่านออกและเขียนได้ มีอัตราเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ การรู้หนังสือ นั้นยังแยกกันตามความชำนาญทางเทคนิคและจุดประสงค์ของการอ่านและเขียน โดยอาจจะเกี่ยวกับวัฒนธรรม การเมือง และประวัติศาสตร์ นิยามของความสามารถการอ่านออก เขียนได้ อาศัยหลักของมโนคติวิทยา ในปัจจุบันนี้ จะเห็นว่าเราได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของ การรู้หนังสือ มากขึ้น โดย การรู้หนังสือ แนวใหม่นั้นจะเน้นตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำให้ประชากรบนโลกนี้ มีความรู้ ความสามารถตามวัย และยังส่งผลให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย หมวดหมู่:ภาษา หมวดหมู่:ความรู้ หมวดหมู่:สังคม หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์ประยุกต์ หมวดหมู่:สังคมเศรษฐศาสตร์.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและการรู้หนังสือ

การเฉลิมพระยศเจ้านาย

ระยศเจ้านาย ในราชสกุลมี 2 ประเภทคือ สกุลยศ คือ ยศที่เกิดเป็นเจ้าชั้นใดในเบื้องต้น เจ้านายที่เกิดในสกุลยศชั้นใด ก็อยู่ในชั้นยศชั้นนั้น เป็นยศที่ได้โดยการเกิด และ "อิสริยยศ" คือยศที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสถาปนาแต่งตั้งให้ทางราชการในภายหลัง และ"ยศทางสกุล"โดยชั้นข้าหลวงให้นำหน้าสกุลว่า"วงค์"(เมื่อสิ้นสุดรัชกาล สำหรับเมื่อเป็นสามัญชน) เช่น วงค์ปินตา วงค์สมบูรณ์ วงค์บวรคง วงค์ปิ่นแก้ว ฯลฯ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและการเฉลิมพระยศเจ้านาย

ภาษาบาลี

ษาบาลี (ปาลิ; पाऴि); (Pali) เป็นภาษาที่เก่าแก่ภาษาหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้ อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภาษาบาลี

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภาษาละติน

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภาษาสันสกฤต

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภาษาอังกฤษ

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภาษาไทย

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภาษาเยอรมัน

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภาษาเขมร

ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน

ูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน หมายความว่า "สัตว์เลื้อยคลานยักษ์แห่งภูเวียง" เป็นชื่อสกุลของไดโนเสาร์ที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในหมวดหินเสาขัว อายุราวยุคครีเตเชียสตอนต้น ประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว เป็นไดโนเสาร์ซอโรพอด (sauropod - ไดโนเสาร์กินพืชคอยาว) ชนิดแรกที่บรรยายลักษณะจากประเทศไทย จัดอยู่ในกลุ่ม Titanosaur ซึ่งเป็นซอโรพอดขนาดกลาง ความยาวประมาณ 15-20 เมตร โดยตัวอย่างต้นแบบ (type specimens) พบที่ภูเวียง อำเภอภูเวียง (อำเภอเวียงเก่า ในปัจจุบัน) จังหวัดขอนแก่น เมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมาลายา

มหาวิทยาลัยมาลายา (University of Malaya (UM); อักษรยาวี: اونيۏرسيتي ملايا) เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ และเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยมาลายา

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit University) จาก โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงทางด้าน การศึกษาปฐมวัย คหกรรมศาสตร์ ธุรกิจบริการ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการบิน และ " โรงเรียนกฎหมายและการเมือง ".

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อังกฤษ: Prince of Songkla University; อักษรย่อ: ม.อ.) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ของประเทศไทย ตาม ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (ม.อบ.) (Ubon Ratchathani University) "ภูมิปัญญาแห่งภูมิภาคลุ่มน้ำโขง" เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่จัดตั้งในพื้นที่ของจังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วิทยาเขตมุกดาหาร

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วิทยาเขตมุกดาหาร เป็นอดีตวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยตั้งอยู่ที่จังหวัดมุกดาหาร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วิทยาเขตมุกดาหาร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง

อาคารสิรินธรารัตน์ (ตึกโดมแก้ว) มธ.ศูนย์ลำปาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง แต่เดิมตั้งอยู่ที่ อาคารศาลากลางจังหวัดหลังเก่า ถ.บุญวาทย์ อ.เมืองลำปาง จังหวัดลำปาง เมื่อปีการศึกษา 2546 ได้ย้ายไปยังเลขที่ 248 หมู่ 2 ถนนลำปาง-เชียงใหม่ ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 52190 อยู่ห่างจากตัวเมืองลำปาง ประมาณ 15 กิโลเมตร ไปตามถนนซุปเปอร์ไฮเวย์สายลำปาง-เชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่จากการบริจาคของนายบุญชู ตรีทอง มีพื้นที่ 364 ไร่ 3 งาน 79 ตารางวา เป็นที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง มีอาคารเรียนรวมหลังแรกชื่อ "อาคารสิรินธรารัตน์" มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีปณิธานที่มุ่งจะจัดการศึกษาสำหรับประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า ทุกชนชั้น จึงได้เริ่มขยายโอกาสทางการศึกษาออกสู่ส่วนภูมิภาคในจังหวัดลำปาง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2535 โดยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมมือกับสถาบันราชภัฏลำปาง ได้ขยายการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการเมืองการปกครอง มายังจังหวัดลำปางเป็นครั้งแรก ทำให้ทางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เล็งเห็นถึงความพร้อม และความเหมาะสมของจังหวัดลำปางในฐานะที่จะเป็นศูนย์กลางการพัฒนาการศึกษาในเขตภาคเหนือได้ ต่อมาในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย

วิทยาเขตหนองคาย เป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยตั้งอยู่ที่จังหวัดหนองคาย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2538 เปิดรับนักศึกษาครั้งแรก พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาลตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงราย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ก่อตั้งโดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นหนึ่งในวิทยาเขตของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริหารธุรกิจและการท่องเที่ยว ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มิลลิเมตร

มิลลิเมตร อักษรย่อ มม. (Millimetre: mm) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 x 10-3 เมตร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและมิลลิเมตร

ระนาด

ระนาด เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง จัดเป็นเครื่องดนตรีชนิดเครื่องตี ประกอบด้วย ลูกระนาด ร้อยด้วยเชือก เรียกว่า "ผืน" แขวนไว้กับ ราง ซึ่งทำหน้าที่รองรับลูกระนาด (แขวนลอย ไม่ได้วางรายกับราง) และทำหน้าที่เป็นกล่องเสียงด้วย ผู้เล่นจะใช้ ไม้ตี จำนวน 2 อัน สำหรับตีลูกระนาดให้เกิดเป็นท่วงทำนอง ไม้ตีระนาด มีด้วยกัน 2 แบบ คือ ไม้นวม จะให้เสียงทีฟังแล้วรู้สึกได้ถึงความไพเราะ นุ่มนวลที่หัวของไม้ จะใช้ผ้าพันให้เป็นนวมก่อนจากนั้นจะใช้เส้นได้พันทับอีกที ไม้ตีระนาดชนิดนี้นิยมใช้เล่นบรรเลงในวงมโหรี, วงปี่พาทย์ไม้นวม และ ไม้แข็ง ซึ่งจะให้เสียงที่ฟังแล้วรู้สึกถึงความมีอำนาจ และแข็งแกร่ง ลักษณะของไม้จะพันเช่นเดียวกันกับไม้นวม เพียงแต่จะชุบด้วย "รัก" เป็นระยะ และที่ชั้นนอกสุด แล้วจึงพันอีกครั้งด้วยผ้าดิบบาง ๆ เป็นอันเสร็จ ทำให้ได้หัวไม้ที่แข็ง และสังเกตได้ง่าย ๆ ที่สีของหัวไม้ซึ่งจะดำสนิท ระนาดของไทยนั้น มีด้วยกัน 4 ชนิด ดังนี้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและระนาด

ระนาดเอก

ระนาดเอก ระนาดเอกเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่ง ที่วิวัฒนาการมาจากกรับ แต่เดิมคงใช้กรับสองอันตีเป็นจังหวะ ต่อมาก็เกิดความคิดว่า ถ้าเอากรับหลาย ๆ อันวางเรียงราดลงไป แล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้มีขนาดลดหลั่นกัน แล้วทำรางรองอุ้มเสียง และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ กันนั้นให้ติดกัน และขึงไว้บนรางใช้ไม้ตีให้เกิดเสียง นำตะกั่วผสมกับขี้ผึ้งมาถ่วงเสียงโดยนำมาติดหัวท้ายของไม้กรับนั้น ให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึ้น เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์เป็นขนาดต่างๆกันนั้นว่า ลูกระนาด เรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็นแผ่นเดียวกันว่า ผืน ระนาดเอกใช้ในงานมงคล เป็นเครื่องดนตรีเป็นมงคลในบ้าน บรรเลงในวงปี่พาทย์และวงมโหรี โดยทำหน้าที่เป็นผู้นำวง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและระนาดเอก

รัก (ไม้พุ่ม)

รัก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Calotropis gigantea (Linn.) R.Br.ex Ait.) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในวงศ์ Apocynaceae วงศ์ย่อย Asclepiadoideae ลำต้นสูง 1.5–3 เมตร ดอกมีสีขาวหรือม่วง มีรยางค์เป็นคล้ายมงกุฎ รักเป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย ศรีลังกา อินเดีย และจีน ดอกของพืชชนิดนี้เรียกว่า ดอกรัก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและรัก (ไม้พุ่ม)

รัก (เพลงพระราชนิพนธ์)

ลงพระราชนิพนธ์ รัก เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๗ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนธันวาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและรัก (เพลงพระราชนิพนธ์)

รัตนตรัย

ระรัตนตรัย หรือพระไตรรัตน์ หมายถึง แก้วสามประการอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน ที่เรียกว่า รัตน (แก้ว) เพราะว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ มีค่าสูง และหาได้ยาก เทียบด้วยดวงแก้วมณี พระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้า, พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะ, ธรรมรัตนะ, สังฆรัตนะ ซึ่งได้แก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและรัตนตรัย

ราชการ

ราชการ (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือ รัฐการ (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและราชการ

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและราชกิจจานุเบกษา

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและราชวงศ์จักรี

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและรางวัลรามอน แมกไซไซ

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วังสระปทุม

วังสระปทุม ตั้งอยู่บริเวณถนนพระรามที่ 1 และถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานที่ดินให้เป็นที่สร้างวังของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระองค์ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า แต่ยังมิได้มีการสร้างวังขึ้น ณ ขณะนั้น เนื่องจากสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์ได้เสด็จไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ หลังจากการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าได้เสด็จออกมาประทับนอกพระบรมมหาราชวัง ทรงเริ่มสร้างพระตำหนักขึ้น ณ วังสระปทุม และเสด็จประทับเป็นการถาวรตลอดพระชนม์ชีพพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ และครอบครัว ปัจจุบัน วังสระปทุมเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากนี้ วังสระปทุมยังใช้เป็นสถานที่จัดงานอภิเษกสมรสระหว่างสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี รวมทั้ง ยังเป็นสถานที่จัดพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสระหว่างพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถอีกด้ว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวังสระปทุม

วันมาฆบูชา

ปุรณมี วันมาฆบูชา (มาฆปูชา; Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๐, ๓๐ มีนาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันมาฆบูชา

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันวิสาขบูชา

วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล

วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล วิทยาลัยกำปงเฌอเตียล (វិទ្យាល័យកំពង់ឈើទាល วิทฺยาลัยกํพง่เฌีทาล) เป็นวิทยาลัยตั้งอยู่ในอำเภอปราสาทซ็อมโบร์ จังหวัดกำปงธม ประเทศกัมพูชา ก่อตั้งโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเป็นของขวัญแก่ประชาชนชาวกัมพูชา เพื่อตอบแทนน้ำใจไมตรี รวมทั้งแสดงถึงความสัมพันธ์และเป็นมิตรที่ดีต่อกันของประชาชนชาวไทยกับกัมพู.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวิทยาลัยกำปงเฌอเตียล

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวิทยาศาสตร์

วงเวียนโอเดียน

วงเวียนโอเดียน เป็นวงเวียนตั้งอยู่บริเวณหัวถนนเยาวราช เป็นจุดตัดของถนนเจริญกรุง, ถนนเยาวราช และถนนมิตรภาพไทย-จีน อยู่ในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นวงเวียนที่มีประวัติความเป็นมาคู่กับถนนเยาวราช เคยเป็นศูนย์รวมสถานบันเทิง เดิมเป็นวงเวียนน้ำพุ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ปัจจุบันปรับปรุงเป็นที่ตั้งของ ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา ร้านค้าในย่านนี้ เรียกว่า ร้านค้าย่านโอเดียน เป็นย่านเก่าแก่เป็นที่มาของชื่อ เซียงกง แหล่งเครื่องยนต์มือสอง และอะไหล่มือสองจากญี่ปุ่นยุคแรก ปัจจุบัน ยังมีร้านค้าเหล่านี้อยู่บ้าง เช่น ร้านค้าอะไหล่รถยนต์ อะไหล่แทรกเตอร์ ร้านค้าโลหะ และร้านค้าเครื่องเรือ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวงเวียนโอเดียน

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและศาสตราจารย์

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและศาสนาพุทธ

ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นโรงพยาบาลในสังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งอยู่ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ คลอง 16 ถนนรังสิต-นครนายก ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organisation)) เป็นศูนย์ข้อมูลความรู้ทางด้านมานุษยวิทยา โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ วัฒนธรรมและความรู้ท้องถิ่นของประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำหน้าที่เก็บรวบรวมบันทึกความรู้ในรูปแบบต่างๆ สนับสนุนการสร้างความรู้ใหม่ และเผยแพร่ผลงานการค้นคว้าให้แก่ประชาชนทั่วไป.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว

ูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว หรือ พิพิธภัณฑ์สิรินธร (Sirindhorn Museum) เป็นศูนย์วิจัยเกี่ยวกับไดโนเสาร์และ พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์แห่งแรกของประเทศไทย อยู่ที่อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์พลาดิสัย สิทธิธัญก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

ูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center) หรือ เนคเทค (NECTEC) เป็นหน่วยงานภายใต้สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่ที่อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี โดยมีหน้าที่หลักในการดำเนินการวิจัย ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยในภาครัฐ รวมถึงการบริการเพื่อพัฒนา เสริมสร้างอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม สารสนเท.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสภากาชาดไทย

สมุนไพร

ต้นหอม สมุนไพรที่ใช้ในการปรุงอาหาร สมุนไพร หมายถึง "ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตำรับยา เพื่อบำบัดโรค บำรุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ" หากนำเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตำรับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมุนไพร

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

ันเอกหญิง สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ. 2427 — สิ้นพระชนม์: 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา

มเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา เดิมคือ เจ้าจอมมารดาเปี่ยม (สกุลเดิม: สุจริตกุล; ประสูติ: 5 มีนาคม พ.ศ. 2381 - พิราลัย: 13 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสหราชอาณาจักร

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสหประชาชาติ

สะพานเทพสุดา

นเทพสุดา เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 2 ช่องจราจร ข้ามเขื่อนลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์ จากบริเวณแหลมโนนวิเศษ ตำบลโนนบุรี อำเภอสหัสขันธ์ ถึงบริเวณเกาะมหาราช ตำบลหนองบัว อำเภอหนองกุงศรีเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2549 ใช้งบประมาณในการก่อสร้างทั้งสิ้น 498,850,000 บาท ความยาว 2,040 เมตร ถนนต่อเชื่อมโครงการผิวจราจรกว้าง 7 เมตร ไหล่ทางกว้างข้างละ 2.50 เมตร ภายใต้การกำกับดูแลของกรมทางหลวงชนบท สร้างเสร็จในเดือนธันวาคม 2553 ถือเป็นสะพานข้ามน้ำจืดที่ยาวที่สุดในประเทศไทย สะพานเทพสุดา แห่งนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2553 สะพานเทพสุดา ซึ่งหมายถึงสะพานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดสะพานเทพสุดาอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2554 เวลา 09.00 น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสะพานเทพสุดา

สังคมวิทยา

ังคมวิทยา (อังกฤษ: sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทางสังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็นปัจเจก และในฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสังคมวิทยา

สังคมศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ (social science) คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม บางสาขาก็อาจจะนำระเบียบวิธีเชิงคุณภาพแบบการตีความ การคาดการณ์ วิเคราห์ตามหลักปรัชญาและตรรกะ หรือความเชื่อส่วนบุคคล และการวิจารณ์มาใช้ในการอธิบายพฤติกรรมในบางกรณีที่เหมาะสมหากจำเป็น อย่างไรก็ตาม ระเบียบวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร์แบบใหม่ได้รับอิทธิพลจากสังคมศาสตร์แบบอเมริกันอย่างมาก ทำให้การศึกษาแบบปฏิฐานนิยมได้รับความนิยมและการยอมรับมากกว่าระเบียบวิธีแบบเก่าที่คล้ายคลึงกับสาขามนุษยศาสตร์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (2529: 129) ทรงกล่าวถึงความหมายของสังคมศาสตร์และขอบเขตของการศึกษาวิชานี้ไว้ว่า สังคมศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตามความเป็นจริง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสังคมศาสตร์

สัตยพรต ศาสตรี

. สัตยพรต ศาสตรี กำลังถวายพระอักษรแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ศาสตราจารย์ ดร.สัตยพรต ศาสตรี (Satya Vrat Shastri) (29 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสัตยพรต ศาสตรี

สัตว์ปีก

ัตว์ปีก หรือ นก (รวมถึง ไก่, เป็ด, ห่าน, ไก่ฟ้า) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้น Aves (คำว่า Aves เป็นภาษาละติน หมายถึง นก) โดยมีลักษณะทั่วไปคือ เป็นสัตว์ทวิบาท เลือดอุ่น ออกลูกเป็นไข่ รยางค์คู่หน้าเปลี่ยนแปลงไปเป็นปีก มีขนนก และมีกระดูกที่กลวงเบา ในปัจจุบันทั่วโลกมีนกอยู่ประมาณ 8,800 ถึง 9,800 ชนิด (ตามการจัดอนุกรมวิธานที่ต่างกัน) ซึ่งนับว่านกเป็นชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีความหลากหลายมากที่สุด ในบรรดาชั้นของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหลายที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน ความหลากหลายของนกนับเนื่องไปตั้งแต่ในเรื่องของขนาดตัว สีสัน เสียงร้อง อาหารการกิน และถิ่นที่อยู่อาศัย นกเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญเป็นอันมากทั้งต่อระบบนิเวศและต่อชีวิตมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับนกเป็นไปอย่างแน่นแฟ้น และการเกื้อกูลกันระหว่างนกกับสรรพสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติก็เป็นไปอย่างแนบแน่น ถ้าหากปราศจากนก คงเป็นเรื่องยากที่จะจินตนาการถึงการดำรงอยู่ต่อไปของชีวภาคใบนี้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสัตว์ปีก

สิรินธรวัลลี

รินธรวัลลี หรือ สามสิบสองประดง เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็งในสกุลชงโค วงศ์ Leguminosae กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง เมื่อแก่ เปลือกเถาเรียบ บิดตามยาวเล็กน้อย เนื้อไม้เมื่อตัดตามขวาง สีน้ำตาลเข้มออกแดง มีลวดลายสีน้ำตาลอ่อนเป็นกลุ่มเหมือนกลีบดอกไม้ ดอกออกเป็นช่อสีน้ำตาล ออกดอกตลอดปี แต่ดอกจะบานมากในช่วงเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดย ดร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสิรินธรวัลลี

สีม่วง

อกไม้สีม่วงอ่อน สีม่วง เป็นสีที่ผสมระหว่างสีน้ำเงินและสีแดง โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีม่วงเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น ซึ่งนอกจากสีม่วงแล้วยังมีสีเหลืองอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว จึงสามารถเลือกใช้สีม่วงเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสีม่วง

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสีขาว

สีเหลือง

ีเหลือง เป็น 1 ใน 3 แม่สี ร่วมกับสีแดง และสีน้ำเงิน โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีเหลืองเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น จึงสามารถเลือกใช้สีเหลืองเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน ซึ่งนอกจากสีเหลืองแล้วยังมีสีม่วงอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสีเหลือง

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (เอสไอไอที) เป็นสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์Nishino, Fumio and Taweep Chaisomphob, 1997,, Inauguration of the Institute's New Name 'Sirindhorn International Institute of Technology', Commemorative publication, pp.18-24.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ส้มตำ (เพลงพระราชนิพนธ์)

ลงพระราชนิพนธ์ ส้มตำ เป็นเพลงลูกทุ่ง พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บรรเลงครั้งแรกโดยวง อ.ส.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและส้มตำ (เพลงพระราชนิพนธ์)

หม่อมหลวงบัว กิติยากร

หม่อมหลวงบัว กิติยากร นามเดิม หม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 − 19 กันยายน พ.ศ. 2542) หรือชื่อในการแสดงว่า ประทุม ชิดเชื้อ เป็นธิดาของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ และเป็นที่รู้จักในฐานะพระราชมารดาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้งยังทรงเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและหม่อมหลวงบัว กิติยากร

หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา

หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2479) เกิดเมื่อวันเสาร์ แรม 7 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา

หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร

หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร (ราชสกุลเดิม: เทวกุล; ประสูติ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2420 — สิ้นชีพิตักษัย: 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2482) พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล (สุจริตกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร

หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ

หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ เป็นหน่วยทหารของกองทัพบกไทย โดยมีศูนย์บัญชาการอยู่ ณ ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ

ห้องสมุดสาธารณะ

ห้องสมุดสาธารณะ (Public library) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ห้องสมุดประชาชน หมายถึง ห้องสมุดที่ให้บริการสำหรับประชาชนทุกอาชีพ ทุกเพศทุกวัย ไม่จำกัดอายุ เพื่อเป็นศูนย์ข้อมูล ส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมของชุมชน เพื่อพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชนต่าง ๆ ในลักษณะและกิจกรรมของห้องสมุด โดยห้องสมุดสาธารณะจะเป็นสถานที่รวบรวมสรรพวิชาการต่าง ๆ ที่จะให้ความรู้อันประกอบด้วย หนังสือ วารสาร จุลวาร สิ่งพิมพ์ต่างๆ ต้นฉบับตัวเขียน โสตทัศนอุปกรณ์ทุกชนิด เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้มาใช้บริการของห้องสม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและห้องสมุดสาธารณะ

ห้องสมุดโรงเรียน

ห้องสมุดโรงเรียน จัดตั้งขึ้นในสถาบันการศึกษาทุกระดับตั้งแต่ระดับอนุบาล ระดับประถม ระดับมัธยม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตรของโรงเรียนและเป็นแหล่งค้นคว้าของครูและนักเรียน ปัจจุบันเพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้กว้างขวางขึ้น ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ ศูนย์บริการไทยสารอินเทอร์เน็ต และองค์การสื่อสารแห่งประเทศไทย ร่วมกันดำเนินโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย หรือ School Net โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้โรงเรียนมัธยมศึกษาทั้งในกรุงเทพฯและต่างจังหวัดเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายข้อมูลกลุ่มรงเรียนทั่วโลก เพื่อเป็นสื่อกลางแลกเปลี่ยนเอกสาร สื่อการสอน ฐานข้อมูลของห้องสมุดระหว่างโรงเรียนและระหว่างโรงเรียนกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา (ปราณี วงศ์จำรัส, 2548:48).

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและห้องสมุดโรงเรียน

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อักษรขอม

ลาจารึกอักษรขอมโบราณ ที่เสาในปราสาทโลเลย ลัญจกรพระบรมราชโองการสำหรับพิมพ์หัวกระดาษประกาศกฎหมายต่างๆ แบบที่ใช้ในช่วงก่อน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอักษรขอม

อำเภอบางมูลนาก

อำเภอบางมูลนาก เป็นอำเภอในจังหวัดพิจิตร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอบางมูลนาก

อำเภอพาน

น (30px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอพาน

อำเภอพุทธมณฑล

อำเภอพุทธมณฑล เป็นอำเภอที่ตั้งขึ้นใหม่ที่สุดและมีพื้นที่น้อยที่สุดในจังหวัดนครปฐม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอพุทธมณฑล

อำเภอยะรัง

อำเภอยะรัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอยะรัง

อำเภอสหัสขันธ์

หัสขันธ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอสหัสขันธ์

อำเภอสามพราน

อำเภอสามพราน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม มีแม่น้ำนครชัยศรีไหลผ่าน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอสามพราน

อำเภอสิรินธร

รินธร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นส่วนตะวันออกสุดของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอสิรินธร พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอสิรินธร

อำเภอสุไหงโก-ลก

อำเภอสุไหงโก-ลก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส มีตัวเมืองขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญแห่งหนึ่งของภาคใต้ตอนล่าง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอสุไหงโก-ลก

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอหาดใหญ่

อำเภอเมืองลพบุรี

อำเภอเมืองลพบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอำเภอเมืองลพบุรี

อุดมศึกษา

อุดมศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษารองจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและอุดมศึกษา

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

จอมพล

อมพล (Field Marshal) เป็นยศทหาร ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยศสูงสุดในกองทัพบกที่เกือบทุกประเทศทั่วโลกใช้ จอมพลเป็นยศที่สูงกว่าพลเอก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจอมพล

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดพิจิตร

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดกาญจนบุรี

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดกาฬสินธุ์

จังหวัดกำปงธม

กำปงธม หรือ ก็อมปวงทม (កំពង់ធំ, "ท่าเรืออันยิ่งใหญ่") เป็นจังหวัด (เขต) ของประเทศกัมพูชา มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเสียมราฐทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดพระวิหารทางทิศเหนือ, จังหวัดสตึงเตรงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, จังหวัดกระแจะทางทิศตะวันออก, จังหวัดกำปงจามและจังหวัดกำปงชนังทางทิศใต้ และติดต่อกับโตนเลสาบทางทิศตะวันตก เมืองหลักของจังหวัด คือ สตึงแสน เป็นเมืองชายฝั่งแม่น้ำแสน มีประชากรประมาณ 30,000 คน จังหวัดกำปงธมเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 เป็นจังหวัดที่มีสถานที่ที่เป็นสถาปัตยกรรมเขมรเป็นจำนวนมาก ได้แก่ ปราสาท Sambor Prei Kuk และปราสาทวัด Andet จังหวัดกำปมธมเป็นหนึ่งในเก้าจังหวัดที่อาณาเขตติดต่อกับโตนเลสาบ และเป็นจังหวัดที่ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเขตสงวนชีวมณฑลโตนเล.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดกำปงธม

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดราชบุรี

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดลพบุรี

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดลำพูน

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดสุรินทร์

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดสงขลา

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดอุบลราชธานี

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดอ่างทอง

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดขอนแก่น

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดปัตตานี

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดนราธิวาส

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดนครปฐม

จังหวัดนครนายก

ังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดนครนายก

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดเชียงราย

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดเพชรบุรี

จังหวัดเลย

ังหวัดเลย เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย ตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 540 กิโลเมตร มีสภาพภูมิประเทศที่งดงาม อากาศหนาวเย็น เป็นแหล่งเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญอีกด้ว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจังหวัดเลย

จำปีสิรินธร

ำปีสิรินธร (Noot & Chalermglin) เป็นพรรณไม้จำปี ที่มีอยู่แห่งเดียวในโลกที่ป่าพลุชุมชน ต.ซับจำปา อ.ท่าหลวง จ.ลพบุรี ค้นพบโดย ดร.ปิยะ เฉลิมกลิ่น นักวิชาการ 10 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ลักษณะลำต้นสูงประมาณ 20 - 30 ม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจำปีสิรินธร

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ถนนสิรินธร

นนสิรินธร (Thanon Sirindhorn) ซึ่งบางส่วนมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 341 สายบางพลัด - บางบำหรุ เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ลักษณะเป็นถนนขนาด 8 - 10 ช่องทางจราจร กว้าง 40 เมตร มีระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร เริ่มจากถนนจรัญสนิทวงศ์ตัดกับถนนราชวิถีที่สี่แยกบางพลัด ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางบำหรุ เมื่อผ่านซอยสิรินธร 2 (สมชายพัฒนา) จึงโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ จากนั้นตัดผ่านถนนรุ่งประชา ก่อนจะไปบรรจบกับถนนบรมราชชนนีที่ทางแยกต่างระดับสิรินธร โดยตลอดสายยังถือเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางพลัดกับแขวงบางบำหรุอีกด้วย ถนนสิรินธรตัดขึ้นตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินสายแยกถนนจรัญสนิทวงศ์ (แยกสะพานกรุงธนฯ) - บรรจบทางหลวงพิเศษสายบางกอกน้อย-นครชัยศรี ในท้องที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและถนนสิรินธร

ทรัมเป็ต

ทรัมเป็ต (trumpet) เป็นเครื่องดนตรีสากลในกลุ่มเครื่องลมทองเหลือง (แตร) ประเภทเสียงสูง (high brass) เช่นเดียวกับเฟรนช์ฮอร์น กำเนิดเสียงโดยอาศัยลมจากการเป่าของผู้เล่นทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของริมฝีปาก โดยทั่วไปมีปุ่มกด (valve) 3 อัน เรียงอยู่ในระนาบเดียวกัน มีทั้งที่เคลือบผิวด้วยทอง, เงิน, นิกเกิล, และแลกเกอร์ ทรัมเป็ตมีวิวัฒนาการมายาวนานตั้งแต่สมัยโบราณ โดยเริ่มจากแตรสัญญาณที่ใช้ในการล่าสัตว์หรือในทางทหาร แต่แตรลักษณะนั้นโดยมากจะไม่มีปุ่มกดเพื่อเปลี่ยนระดับเสียง ทำให้ไม่สามารถสร้างระดับเสียงที่แตกต่างกันได้มากนัก จนกระทั่งมีการคิดประดิษฐ์ปุ่มกดและกลไกต่างๆเข้าไปภายหลังในสมัยยุคกลาง โดยเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมในวงกว้าง สามารถพบเห็นได้ในวงหลากหลายรูปแบบตั้งแต่วงพื้นบ้านของเม็กซิกัน (mariachi) วงแจ๊ซ วงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุ่ง จนถึงวงออเคสตรา และแตรวงขนาดใหญ่ หรือแม้แต่วงดนตรีป๊อป-ร็อคสมัยใหม่ ระดับเสียงของทรัมเป็ตมีช่วงเสียงประมาณ 2-3 ออกเตฟ ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้เล่น ตั้งแต่ F# ต่ำกว่า middle C จนถึง E สูงเหนือบรรทัด 5 เส้นหรือสูงกว่านั้น เสียงของทรัมเป็ตโดยธรรมชาติมีลักษณะดังกังวาน สดใส และเข้มแข็ง แต่ขณะเดียวกันก็สามารถใช้สร้างเสียงที่แสดงออกถึงอารมณ์หม่นเศร้าได้เช่นกัน ที่นิยมใช้กันทั่วไปคือทรัมเป็ตในคีย์ Bb และคีย์ C อาจพบเห็นทรัมเป็ตที่มีขนาดและระดับเสียงแตกต่างกันได้อีกหลายชนิดตั้งแต่ "เบส-ทรัมเป็ต" จนถึง "พิคโคโลทรัมเป็ต" โดยเฉพาะในบทเพลงคลาสสิก ในประเทศไทยมีผู้เล่นทรัมเป็ตที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น อ.วานิช โปตะวณิช, อ.เลิศเกียรติ จงจิรจิต เป็นต้น หมวดหมู่:เครื่องลมทองเหลือง หมวดหมู่:เครื่องดนตรีออร์เคสตรา หมวดหมู่:ดนตรีของกองทัพเรือ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและทรัมเป็ต

ทองคำ

ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและทองคำ

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและทำเนียบรัฐบาลไทย

ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)

ท้าววนิดาพิจาริณี มีนามเดิมว่า บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม บุญธร; พ.ศ. 2429— 2 มีนาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)

ขนมไทย

นมไทยหลายชนิด อาทิ ทองหยอด, ทองหยิบ, ฝอยทอง ซึ่งเป็นขนมที่มีที่มาจากโปรตุเกส โดย ท้าวทองกีบม้า ขนมไทย มีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติไทยคือ มีความละเอียดอ่อนประณีตในการเลือกสรรวัตถุดิบ วิธีการทำ ที่พิถีพิถัน รสชาติอร่อยหอมหวาน สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีที่ประณีตบรรจง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและขนมไทย

ดนตรี

น้ตเพลง ดนตรี (music) คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้านศิลปะได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงานพิธีการต่าง ๆ ได้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและดนตรี

ดนตรีสากล

นตรีสากลเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาวตะวันตก เริ่มจากการที่ชาวยุโรปมีการบันทึกทำนองเพลงที่เป็นแบบแผนเดียวกันโดยใช้สัญลักษณ์ที่เรียกว่า โน้ตสากล และใช้กับเครื่องดนตรีสากลที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและดนตรีสากล

ดนตรีไทย

วงมโหรีโบราณเครื่องหก ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย, จีน, อินโดนีเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและดนตรีไทย

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ก่อตั้งขึ้นพร้อมกับการจัดตั้งวิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะที่ตั้งในวิทยาเขตหาดใหญ่ จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับอุดมศึกษา เป็นที่รู้จักแห่งหนึ่งในภาคใต้ ทั้งในด้านการเรียนการสอน งานวิจัยและบริการวิชาการ จัดตั้งขึ้นในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือว่าเป็นคณะที่เก่าแก่ที่สุดของมหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจาก โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร และ คณะวิชาการศึกษา วิทยาลัยวิชาการศึกษ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2546 ที่ตั้งปัจจุบันตั้งอยู่ที่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (เขตพื้นที่ในเมือง) ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นคณะแพทยศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 8 ของประเทศไทย โดยในช่วง แรกนั้นได้ทำการร่วมมือกับทางโรงพยาบาลวชิรพยาบาล และโรงพยาบาลตำรวจ ในการร่วมผลิตแพทย์ และหลังจากนั้นทางคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒจึงเริ่มทำการเรียนการสอน ณ ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีซึ่งเป็นโรงพยาบาลของคณะแพทยศาสตร์ ร่วมกับศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Archaeology, Silpakorn University) ตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ค่ายสิรินธร

รินธร เป็นที่ตั้งของกองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๕ ต.เขาตูม อ.ยะรัง จังหวัดปัตตานี ก่อตั้งเมื่อวันที่ ๑..๒๕๒๒ มีโครงการที่จะย้ายหน่วยที่ตั้งของกองพันดังกล่าวไปที่ ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ซึ่งในขณะนี้ได้ปลูกสร้างอาคารถาวรเสร็จเรียบร้อยแล้ว หมวดหมู่:ค่ายทหารในจังหวัดปัตตานี หมวดหมู่:ค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทย หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดปัตตานี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและค่ายสิรินธร

ฉัตร

ระนพปฎลมหาเศวตฉัตร ประดิษฐานเหนือพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ฉัตร เป็นเครื่องสูงสำหรับแขวน ปัก ตั้ง หรือเชิญเข้ากระบวนแห่เพื่อเป็นเกียรติยศ ฉัตรมีรูปร่างคล้ายร่มที่ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ฉัตรถือเป็นของสูง เปรียบเสมือนสวรรค์ซึ่งเป็นศูนย์รวมจักรวาล.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและฉัตร

ซอ

ซอ เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่งจำพวกเครื่องสาย ทำให้เกิดเสียงโดยการใช้คันชักสีเข้ากับสายที่ขึงเอาไว้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและซอ

ซอด้วง

ซอด้วง ซอด้วงเป็นซอสองสาย มีเสียงแหลม ก้องกังวาน คันทวนยาวประมาณ 72 ซม คันชักยาวประมาณ 68 ซม ใช้ขนหางม้าประมาณ 120 – 150 เส้น กะโหลกของ ซอด้วงนั้น แต่เดิมใช้กระบอกไม้ไผ่มาทำ ปากกระบอกของซอด้วงกว้างประมาณ 7 ซม ตัวกระบอกยาวประมาณ 13 ซม กะโหลกของซอด้วงนี้ ในปัจจุบันใช้ไม้จริง หรือ งาช้างทำก็ได้ แต่ที่นิยมว่าเสียงดีนั้น กะโหลกซอด้วงต้องทำด้วยไม้ไม้เนื้อแข็ง ส่วนหน้าซอนิยมใช้หนังงูเหลือมขึง เพราะทำให้เกิดเสียงแก้วเกิดความไพเราะอย่างยิ่ง ลักษณะของซอด้วง มีรูปร่างเหมือนกับซอของจีนที่เรียกว่า ฮู – ฉิน (Huchin) ทุกอย่าง เหตุที่เรียกว่า ซอด้วง ก็เพราะมีรูปร่างคล้ายเครื่องดักสัตว์ เพราะตัวด้วงดักสัตว์ ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่เหมือนกีน จึงได้เรียกชื่อไปตามลักษณะนั้นนั่นเอง สายซอด้วงนั้น มีเพียงสองสายและมีเสียงอยู่ สองเสียง คือสายเอกจะเป็นเสียง "เร" ส่วนสายทุ้มจะเป็นเสียง "ซอล" โดยใช้สายไหมฟั่นหรือว่าสายเอ็นก็ได้ ซอด้วงใช้ในวงเครื่องสาย วงมโหรี โดยทำหน้าที่เป็นผู้นำวงและเป็นหลักในการดำเนินทำนองอ้างอิง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและซอด้วง

ปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ป..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและปฐมจุลจอมเกล้า

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์จีน

ตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมยาวนานที่สุดประเทศหนึ่ง โดยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถค้นคว้าได้บ่งชี้ว่าอารยธรรมจีนมีอายุถึง 5,000 ปี รากฐานที่สำคัญของอารยธรรมจีนคือ การสร้างระบบภาษาเขียน ในยุคราชวงศ์กอณัฐ (ศตวรรษที่ 58 ก่อน ค.ศ.) ให้เป็นภาษากลางใช้ได้ทั่วประเทศ เป็นครั้งแรกในโลก (ไม่ว่าชนเผ่าใดๆจะพูดต่างกัน สำเนียงต่างกัน แต่ใช้ตัวเขียนเหมือนกัน) และการพัฒนาแนวคิดลัทธิขงจื๊อ เมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประวัติศาสตร์จีน

ประวัติศาสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประวัติศาสตร์ไทย

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศพม่า

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศกัมพูชา

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศมาเลเซีย

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศลาว

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศอินเดีย

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศจีน

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศนอร์เวย์

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศไทย

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและประเทศเวียดนาม

ปริญญากิตติมศักดิ์

ปริญญากิตติมศักดิ์ (honorary degree) เป็นปริญญาซึ่งมหาวิทยาลัย (หรือสถาบันมอบปริญญาอื่น) สละข้อกำหนดตามปกติ เช่น การสมัครเข้าเป็นนักศึกษา การพำนัก การศึกษาและการผ่านการสอบ ตรงแบบปริญญานี้เป็นปริญญาเอกหรือพบน้อยกว่าเป็นปริญญาโท และอาจให้แก่ผู้ที่ไม่เคยมีความเชื่อมโยงกับสถาบันวิชาการนั้นก่อนก็ได้ มักให้ปริญญากิตติมศักดิ์เพื่อเป็นการเชิดชูการเข้ามีส่วนร่วมในสาขาเฉพาะหรือต่อสังคมโดยรวมของแขกที่โดดเด่น มักให้ผู้กล่าวสุนทรพจน์สำเร็จการศึกษาที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยอาจได้รับประโยชน์โดยการสมาคมกับบุคคลที่กล่าวถึง นายจ้างไม่ยอมรับปริญญากิตติมศักดิ์ว่ามีเกียรติเท่ากับปริญญาเอกเดียวกันที่ได้รับม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและปริญญากิตติมศักดิ์

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและปลา

ปลาทอง

ปลาทอง หรือ ปลาเงินปลาทอง (goldfish) เป็นปลาน้ำจืด อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนและญี่ปุ่น เดิมใช้บริโภค ต่อมาถูกพัฒนาสายพันธุ์มาไม่ต่ำกว่า 2,000 ปี จนกลายเป็นปลาสวยงามในปัจจุบัน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและปลาทอง

ปลาเทวดา

ปลาเทวดา (Angelfish) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Pterophyllum (/เทอ-โร-ฟิล-ลั่ม/; เป็นภาษาละตินแปลว่า "ครีบใบไม้" ซึ่งหมายถึง ลักษณะรูปร่างลำตัวที่คม) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามกันอย่างหลากหล.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและปลาเทวดา

ปูเจ้าฟ้า

ปูเจ้าฟ้า หรือ ปูสิรินธร หรือ ปูน้ำตก (Panda crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Phricotelphusa sirindhorn) เป็นปูน้ำตกพบที่วนอุทยานน้ำตกหงาว อำเภอเมือง จังหวัดระนอง เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและปูเจ้าฟ้า

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร หรือ นกนางแอ่นตาพอง (White-eyed River-Martin, ชื่อวิทยาศาสตร์: Pseudochelidon sirintarae หรือ Eurochelidon sirintarae) เป็นนกจับคอนหนึ่งในสองชนิดของสกุลนกนางแอ่นแม่น้ำในวงศ์นกนางแอ่น พบบริเวณบึงบอระเพ็ดในช่วงฤดูหนาวเพียงแห่งเดียวในโลก แต่อาจสูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นาฏศิลป์

การแสดงนาฏศิลป์ไทย มีท่ารำที่อ่อนช้อยและเป็นเอกลักษณ์แตกต่างกันไปตามลักษณะประจำถิ่น นาฏศิลป์ หมายถึงศิลปะการแสดงประกอบดนตรีเช่น ฟ้อน รำ ระบำ โขน เทศของแต่ละท้องถิ่น ความเชื่อ ศาสนา ภาษา นิสัยใจคอของผู้คน ชีวิตความเป็นอยู่ แต่ละภาคมีรายละเอียดดังต่อไปนี้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและนาฏศิลป์

นามปากกา

นามปากกา หมายถึงนามแฝงของนักเขียน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและนามปากกา

นิทานเรื่องเกาะ (เรื่องนี้ไม่มีคติ)

นิทานเรื่องเกาะ (เรื่องนี้ไม่มีคติ) เป็นพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และพระราชทาน ภาพวาดฝีพระหัตถ์ประกอบ ความยาว 14 หน้า โดยพิมพ์ครั้งแรกปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและนิทานเรื่องเกาะ (เรื่องนี้ไม่มีคติ)

นครหลวงเวียงจันทน์

นครหลวงเวียงจันทน์ (ນະຄອນຫຼວງວຽງຈັນ, นะคอนหลวงเวียงจัน) เป็นเขตที่ตั้งของกรุงเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นทั้งเมืองหลวงของประเทศลาวและเป็นเขตการปกครองพิเศษนครหลวงเวียงจันทน์ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ มีอาณาเขตตรงข้ามอำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคายของประเทศไทย เชื่อมต่อคมนาคมด้วยสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1 นครหลวงเวียงจันทน์เป็นเขตปกครองที่มีความเจริญของเมืองมากที่สุดในบรรดาเขตการปกครองระดับบนสุด 18 แห่งของประเทศลาว ก่อตั้งเมื่อ..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและนครหลวงเวียงจันทน์

แมลงปอ

วนหัวและตาขนาดใหญ่ของแมลงปอ การผสมพันธุ์ของแมลงปอ แมลงปอ (อังกฤษ: Dragonfly, ภาษาไทยถิ่นเหนือ: แมงก่ำบี้) คือแมลงที่มีตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ ตัวเต็มวัยมีชีวิตอยู่บนบกมีปีกบินได้ แมลงปอมีการเจริญเติบโตแบบเป็นขั้นตอนประเภทไม่สมบูรณ์แบบ คือ มีระยะไข่ ตัวอ่อน และตัวเต็มวัย ไม่มีระยะดักแด้ โดยระยะไข่และตัวอ่อนมีชีวิตอยู่ในน้ำ ตัวอ่อนที่อยู่ในน้ำมีรูปร่างแตกต่างจากตัวเต็มวัยมาก เมื่อตัวอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะลอกคราบครั้งสุดท้าย กลายเป็นตัวเต็มวัยที่มีปีกและจะใช้ชีวิตบนบกได้ต่อไป แมลงปอจัดเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตจำพวกหนึ่ง โดยถือกำเนิดมาตั้งแต่ 320 ล้านปีก่อนในยุคคาร์บอนิเฟอรัส ก่อนหน้าไดโนเสาร์ และแทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเลยมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากขนาดลำตัวที่แมลงปอในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่มีขนาดใหญ่กว่าแมลงปอในยุคปัจจุบันมาก โดยมีความห่างระหว่างปีกมากกว่า 70 เซนติเมตร ในอารยธรรมอียิปต์โบราณ แมลงปอปรากฏอยู่ในอักษรภาพเฮียโรกริฟฟิธในหลุมศพของฟาโรห์Sky Hunters: The World Of Dragonfly.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและแมลงปอ

แลบราดอร์ริทรีฟเวอร์

แลบราดอร์ริทรีฟเวอร์ (Labrador Retriever).

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและแลบราดอร์ริทรีฟเวอร์

แขวงเวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2532 แขวงเวียงจันทน์เดิมได้แบ่งออกเป็น 2 แขวง คือ แขวงเวียงจันทน์ปัจจุบันและนครหลวงเวียงจันทน์ที่มีเขตตัวเมืองเวียงจันทน์ซึ่งเป็นเมืองหลวงตั้งอยู่ หลังจากแบ่งออกเป็นสองแขวงแล้ว พื้นที่ส่วนที่เหลือยังคงเรียกว่าแขวงเวียงจันทน์ และได้ย้ายศูนย์กลางการปกครองของแขวงมาอยู่ที่เมืองโพนโฮง แทนตัวเมืองเวียงจันทน์ชั้นในซึ่งอยู่ในเขตนครหลวงเวียงจันทน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและแขวงเวียงจันทน์

โกลเดินริทรีฟเวอร์

กลเดินริทรีฟเวอร์สีเหลืองอ่อน โกลเดินริทรีฟเวอร์สีเหลืองเข้ม โกลเดินริทรีฟเวอร์ (Golden Retriever) เป็นสายพันธุ์สุนัข มีถิ่นกำเนิดในประเทศสกอตแลนด์ มีขนยาว มีสีขนเหลืองอ่อน เหลืองทอง และเหลืองเข้ม โดยทั่วไปแล้ว เพศผู้ควรมีความสูง (วัดจากหัวไหล่ถึงปลายเท้า) ประมาณ 23- 24 นิ้ว และเพศเมียควรมีความสูงประมาณ 21.5-22.5 นิ้ว แต่เดิมนั้นสายพันธุ์นี้ได้ปรับปรุงคุณลักษณะบางอย่างเพื่อในงานของนายพราน เช่น มีรูปร่างสมส่วน คล่องตัว เขียวและฟันงับชิ้นเหยื่อโดยให้ช้ำเพียงเล็กน้อย เป็นต้น ไม่มีปรากฏว่าสุนัขสายพันธุ์นี้มีความก้าวร้าวแต่อย่างใ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโกลเดินริทรีฟเวอร์

โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร

รงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) ในเขตภาคเหนือตอนล่าง สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร เลขที่ 99 หมู่ 9 ถนนพิษณุโลก - นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร

โรงพยาบาลราชวิถี

รงพยาบาลราชวิถี เป็นโรงพยาบาลรัฐบาล นับเป็นโรงพยาบาลศูนย์วิชาการที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มีผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือ นายแพทย์มานัส โพธาภรณ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงพยาบาลราชวิถี

โรงพยาบาลรามาธิบดี

รงพยาบาลรามาธิบดี เป็นหน่วยงานหนึ่งในระดับภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นสถานพยาบาลแห่งหนึ่งของรัฐ ตั้งอยู่เลขที่ 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 มีเนื้อที่ทั้งหมด 38 ไร่ มีอาคารรวม 20 อาคาร เริ่มเปิดดำเนินการรักษาคนไข้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงพยาบาลรามาธิบดี

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงพยาบาลศิริราช

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

รงพยาบาลสงขลานครินทร์ เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) ระดับโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งแรกของภาคใต้ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงพยาบาลสงขลานครินทร์

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2457 ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่ตั้งและที่ดำเนินการเรียนการสอนให้กับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์แห่งที่สองของประเทศไทย นอกจากนี้คณาจารย์สังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้ว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

รงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ (รพธ.) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีภารกิจในการให้บริการทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ประชาชนโดยทั่วไป และเป็นแหล่งฝึกปฏิบัติทางคลินิกของสายวิทยาศาสตร์สุขภาพเช่น คณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา และวิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสายอื่นๆที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์สุขภาพเช่น คณะสังคมสงเคราะห์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นต้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

โรงเรียนช่างฝีมือในวัง

รงเรียนช่างฝีมือในวัง (เดิมชื่อ วิทยาลัยในวัง หรือ โรงเรียนผู้ใหญ่พระตำหนักสวนกุหลาบ) เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นตามพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่จะให้มีการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับงานช่างประดิษฐ์ของสตรีให้แพร่หลายในวงกว้าง และเป็นการสืบสาน ฟื้นฟูช่างฝีมือไทย และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย และฝึกสอนวิชาให้แก่ผู้ที่ต้องการนำไปประกอบอาชีพ โรงเรียนช่างฝีมือในวัง (หญิง) จัดตั้งขึ้นโดยกรมการศึกษานอกโรงเรียน เมื่อวันที่ 25 เมษายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนช่างฝีมือในวัง

โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ

รงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ตั้งอยู่บริเวณท้ายพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ จัดตั้งขึ้นในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ

โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ มหามงคล

รงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ มหามงคล (อักษรย่อ: พ.ส.ม.) สอนระดับอนุบาล และประถม ตั้งอยู่เลขที่ 300 หมู่ที่ 5 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 ประเทศไท.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ มหามงคล

โรงเรียนพานพิเศษพิทยา

รงเรียนพานพิเศษพิทยา (อังกฤษ: Phan Phiset Phitthaya School; ย่อ: พ.พ.ย., P.P.Y.) หรือชื่อเดิม โรงเรียนพานมัธยมสามัญ (พาน ช.ร.8) เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ประเภทสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 (เชียงราย และพะเยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 250 หมู่ 1 ตำบลสันติสุข อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือ นายไชยนคร ขุมคำ และมีรองผู้อำนวยการคือ นายชวลิต ปัญจขันธ์ ป้ายหน้าโรงเรียนพานพิเศษพิท.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนพานพิเศษพิทยา

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

รงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย มีฐานะเป็นองค์การมหาชน ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว

รงเรียนราชวินิตบางแก้ว โรงเรียนสหศึกษาในพระบรมราชูปถัมภ์ สังกัดส่วนกลาง กรมสามัญศึกษา ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยคำว่า "ราชวินิต " หมายความว่า "สถานที่ อบรมสั่งสอนกุลบุตรกุลธิดาให้เป็นคนดีโดยพระราชา".

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

โรงเรียนสิริรัตนาธร

รงเรียนสิริรัตนาธร (อักษรย่อ: ส.ร.ธ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ อยู่ในเครือข่ายสหวิทยาเขตเบญจสิร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนสิริรัตนาธร

โรงเรียนสิรินธร

รงเรียนสิรินธร (อักษรย่อ: ส.ธ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ "โรงเรียนสตรีสุรินทร์" โรงเรียนสิรินธร ก่อตั้งเมื่อ ปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนสิรินธร

โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย

รงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย (Princess Sirindhorn's College) จังหวัดนครปฐม จัดตั้งขึ้นโดยกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุ 3 รอบ ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย

โรงเรียนจิตรลดา

รงเรียนจิตรลดา (อังกฤษ: Chitralada School) เป็นโรงเรียนที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้นในบริเวณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต และพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นค่าใช้จ่ายของโรงเรียน นักเรียนที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้ามาเรียน จึงไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานพระบรมราโชบายให้โรงเรียนจิตรลดาได้ดำเนินงานมาโดยตลอด ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นองค์บริหาร โรงเรียนจึงได้รับสนองพระราโชบายในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องโดยมีท่านผู้หญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ ผู้จัดการและผู้อำนวยการโรงเรียนจิตรลดาในขณะนั้นเป็นผู้รับสนองพระราโชบายมาบริหารและดำเนินการ โรงเรียนจิตรลดาได้รับการยอมรับว่าเป็น "the most exclusive school in Thailand".

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนจิตรลดา

โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ

รงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (Piyajat Pattana School under Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn Patronage) จังหวัดนครนายก จัดตั้งตามดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อให้บุตร หลานของข้าราชการทหารโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าและพื้นที่ใกล้เคียง.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ

โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

รงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (ชื่อย่อ: รร.จปร.) เป็นสถาบันการศึกษาทางทหาร ในระดับอุดมศึกษาในสังกัดกรมยุทธศึกษาทหารบก กองทัพบก ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เรียกว่า นักเรียนนายร้อย (นนร.) ต้นไม้สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า คือ จำปีสิรินธร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

โรงเรียนนายเรือ

รงเรียนนายเรือ เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นนายทหารเรือชั้นสัญญาบัตรของกรมยุทธศึกษาทหารเรือ กองทัพเรือไทย ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายเรือ เรียกว่า นักเรียนนายเรือ (นนร.) นักเรียนนายเรือที่สำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาบัตรในระดับปริญญาตรีเช่นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ และมีสิทธิได้รับการแต่งตั้งยศนายทหารชั้นสัญญาบัตรเป็น "ว่าที่เรือตรี".

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนนายเรือ

โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช

รงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช ตั้งอยู่ ณ 171/1 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร 10220 เป็นสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ กองทัพอากาศไทย มีหน้าที่อำนวยการศึกษา ฝึกอบรม และปกครองนักเรียนนายเรืออากาศ เสนอแนะหลักสูตร และกำหนดแนวการสอน โดยมีผู้บัญชาการโรงเรียนนายเรืออากาศฯ เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ บังคับบัญชาการดำเนินการศึกษาวิชาการและการทหาร รวมทั้งการฝึกฝน ด้านทฤษฎี และปฏิบัติ โดยยึดถือตามระเบียบวินัยที่ได้ บัญญัติไว้ดำเนินการฝึกฝน ระเบียบประเพณี มารยาท จริยธรรม ความเป็นผู้นำ และพัฒนาบุคลิก ความเป็นนักเรียนนายเรืออากาศ ปกครองดูแลนักเรียนนายเรืออากาศ ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศฯ เรียกว่า นักเรียนนายเรืออากาศ (คำย่อ นนอ.).

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช

โรงเรียนโยธินบูรณะ

อาคารโรงเรียนโยธินบูรณะแห่งใหม่ ซึ่งสร้างเป็นอาคารรูปทรงกรวย สูง 12 ชั้น ซึ่งทางโรงเรียนได้ย้ายการเรียนการสอนเมื่อวันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม 2559 อาคารสิรินธร โรงเรียนโยธินบูรณะเดิม ก่อนย้ายการเรียนการสอนไปยังโรงเรียนแห่งใหม่ โรงเรียนโยธินบูรณะ เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 1313 ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนโยธินบูรณะ

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

โครงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่

รงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่ ตามแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จัดตั้งขึ้นในปีการศึกษา 2549 โดยความร่วมมือของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่จะสร้างนักอักษรศาสตร์ที่มีมุมมองและแนวคิดใหม่เพื่อเป็นกำลังของชาติ เปิดรับนักเรียนรุ่นแรกในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 เฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน (ผ่านการคัดเลือก 29 คน) โดยนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกจะมีสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทันทีโดยไม่ต้องแอดมิชชั่น ทั้งยังจะพิจารณามอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนจนถึงระดับสูงสุดตามความสามารถของนักเรียนโดยไม่มีข้อผูกมัดใดๆ ทั้งสิ้น และในปี 2551 ทางคณะอักษรศาสตร์จะเปิดรับนักเรียนเพิ่มอีก 2 โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และโรงเรียนสาธิตปทุมวัน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโครงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่

โครงการอาหารโลก

ัญลักษณ์โครงการอาหารโลก WFP โครงการอาหารโลก (World Food Programme;WFP) เป็นฝ่ายให้ความช่วยเหลือด้านอาหารขององค์การสหประชาชาติ และเป็นองค์การด้านมนุษยธรรมใหญ่ที่สุดของโลกซึ่งจัดการปัญหาความหิวโหยทั่วโลก โครงการอาหารโลกจัดหาอาหารให้แก่ประชากรโลกเฉลี่ย 90 ล้านคนต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้ 58 ล้านคนเป็นเด็ก โครงการดังกล่าวมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี และมีสำนักงานสาขาในอีกมากกว่า 80 ประเทศทั่วโลก มีหน้าที่ทำงานช่วยเหลือผู้ไม่สามารถผลิตหรือได้อาหารเพียงพอแก่ตนเองและครอบครัว โครงการดังกล่าวเป็นสมาชิกของกลุ่มพัฒนาแห่งสหประชาชาติและเป็นส่วนหนึ่งของคณะผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มฯ ใน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและโครงการอาหารโลก

ไอโอดีน

อโอดีน (อังกฤษ:Iodine) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 53 และสัญลักษณ์คือ I ไอโอดีน (เป็นคำในภาษากรีก Iodes, มีความหมายว่า "สีม่วง") เป็นธาตุที่ไม่ละลายน้ำ มีความจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต สมบัติทางเคมีของไอโอดีนมีความไวน้อยกว่าธาตุในกลุ่มฮาโลเจนด้วยกัน ไอโอดีนมีประโยชน์ในทางการแพทย์ การถ่ายภาพ และสีย้อมผ้า ไอโอดีนสามารถระเหิดได้ โครงสร้างอะตอมของไอโอดีน (2-8-18-18-7).

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและไอโอดีน

เพชร

รดิบ เพชร เป็นอัญมณีรูปแบบหนึ่งของคาร์บอน จัดเรียงตัวเป็นทรงแปดหน้า เป็นแร่ที่แข็งที่สุดตามสเกลของโมส์ (Moh's scale) มีค่าความแข็งเท่ากับ 10 เพชรมีหลายสี สีที่นิยมที่สุดคือสีขาวบริสุทธิ์ สีที่หายากคือสีแดง ฟ้า เขียว ส้ม ชมพู เรียก "แฟนซีไดมอนด์" มีราคาสูงมาก การเจียระไนเป็น 52 เหลี่ยมนับว่าสวยที่สุด เพชรเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจ ความแข็งแกร่ง แหล่งของเพชรมีอยู่ทั่วโลก ส่วนมากพบที่บราซิลและแอฟริกาใต้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเพชร

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เมษายน

มษายน เป็นเดือนที่ 4 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน (เขียนย่อ เม.ย. ภาษาปากเรียก เมษา หรือเดือนเมษา) ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนเมษายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพฤษภ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนเมษายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปลาและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวแกะ ชื่อในภาษาอังกฤษ "April" มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน แอปปรีริส ("aprilis") และ แอปเปรีเร ("aperire") หมายถึง "กางออก" ซึ่งอาจหมายถึงการเริ่มต้นของฤดูใบไม้ผลิ หรืออาจมาจาก Apru ชื่อเทพีแห่งความรักในภาษาของชาวอิทรูเรีย ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนเมษายนใน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเมษายน

เมอร์เซเดส-เบนซ์

มอร์เซเดส-เบนซ์ (Mercedes-Benz) เป็นบริษัทยานยนต์เยอรมนีในเครือเดมเลอร์ ผลิตทั้งรถยนต์ รถบัส รถบรรทุก ก่อตั้งโดยก็อตต์ลีบ เดมเลอร์และคาร์ล เบนซ์ ในปีพ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเมอร์เซเดส-เบนซ์

เมตร

มตร อักษรย่อ ม. (mètre → metre meter The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US., m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเมตร

เมนูไข่

ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 48 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเมนูไข่

เล็กซัส

ัญลักษณ์เล็กซัส เล็กซัส (Lexus) เป็นชื่อบริษัทผลิตรถยนต์ของญี่ปุ่น อยู่ในเครือโตโยต้า ผลิตรถประเภทพรีเมี่ยม เล็กซัส เป็นรถระดับพรีเมี่ยมที่ขายดีที่สุด เป็นอันดับ 4 ใน สหรัฐอเมริก.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเล็กซัส

เสรี หวังในธรรม

นายเสรี หวังในธรรม (3 มกราคม พ.ศ. 2480 — 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจำปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเสรี หวังในธรรม

เส้นผ่านศูนย์กลาง

เส้นผ่านศูนย์กลาง (Diameter) เส้นผ่านศูนย์กลาง (อังกฤษ: diameter) คือเส้นตรงซึ่งลากผ่านจุดศูนย์กลางของรูปวงกลมไปบรรจบกับเส้นรอบวงทั้งสองข้าง ซึ่งรูปวงกลมนั้นอาจมาจากหน้าตัดของทรงกระบอก ทรงกรวย หรือทรงกลมก็ได้ เส้นผ่านศูนย์กลางมีความยาวเป็นสองเท่าของเส้นรัศมี เป็นคอร์ดที่ยาวที่สุดในรูปวงกลม และแบ่งรูปวงกลมออกเป็นรูปครึ่งวงกลมสองส่วนเท่าๆ กัน และสามารถเปลี่ยนไปได้ทุกทิศทางไม่กำหนด เส้นผ่านศูนย์กลางจะสร้างมารถคำนวณได้โดยหาค่ารัศมีแล้วคูณสอง เพราะว่าความยาวของรัศมีหนึ่งเส้นเท่ากับครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลาง ในทางวิศวกรรมศาสตร์ เส้นผ่านศูนย์กลางสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ ⌀ (ยูนิโคด: U+8960) ซึ่งมีลักษณะเป็นรูปวงกลมเล็กๆ ขีดทับด้วยเส้นตรงเอียงลงทางซ้าย มีประโยชน์ในการบ่งบอกขนาดของรูปวงกลม หมวดหมู่:เรขาคณิตมูลฐาน หมวดหมู่:ความยาว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเส้นผ่านศูนย์กลาง

เหรียญพิทักษ์เสรีชน

หรียญพิทักษ์เสรีชน สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 9 ใช้อักษรย่อว..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเหรียญพิทักษ์เสรีชน

เหรียญกาชาด

หรียญกาชาด เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จความชอบที่พระราชทานแก่ผู้ทำคุณประโยชน์แก่สภากาชาดไทย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เหรียญกาชาดสมนาคุณ เหรียญกาชาดสรรเสริญ และเหรียญกาชาดสดุดี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเหรียญกาชาด

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเหรียญรัตนาภรณ์

เหรียญราชการชายแดน

หรียญราชการชายแดน ด้านหน้า เหรียญราชการชายแดน (The Border Service Medal) ใช้อักษรย่อว..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเหรียญราชการชายแดน

เหรียญราชรุจิ

หรียญราชรุจิ เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระราชทานแก่ข้าราชการในราชสำนัก นายทหารรักษาพระองค์ และผู้มีบำเหน็จความชอบในราชสำนัก รวมถึงข้าราชการในราชสำนักแห่งพระมหากษัตริย์ต่างประเทศ เป็นต้น ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสถาปนาเหรียญราชรุจิ ประจำรัชกาลของพระองค์ ขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเหรียญราชรุจิ

เหรียญลูกเสือสดุดี

หรียญลูกเสือสดุดี มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Boy Scout Citation Medal" เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการ สร้างขึ้นตามพระราชบัญญัติลูกเสือ..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเหรียญลูกเสือสดุดี

เหรียญดุษฎีมาลา

หรียญดุษฎีมาลา เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานเป็นที่ระลึก เรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า เหรียญแพรแถบ เป็นเหรียญบำเหน็จความชอบในราชการ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างขึ้นในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเหรียญดุษฎีมาลา

เอื้องศรีประจิม

อื้องศรีประจิม เป็นกล้วยไม้ดิน ใบเดี่ยว มีจุดประสีแดงแกมม่วงทั้งใบ ดอกออกเป็นช่อยาว ออกดอกในเดือนพฤษภาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทยและใกล้สูญพันธุ์ พบครั้งแรก ดร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเอื้องศรีประจิม

เอื้องศรีเชียงดาว

อื้องศรีเชียงดาว เป็นกล้วยไม้ดิน ใบเดี่ยว มีจุดประสีแดงแกมม่วงทั้งใบ ดอกออกเป็นช่อยาว ออกดอกในเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดย ดร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเอื้องศรีเชียงดาว

เจริญใจ สุนทรวาทิน

ริญใจ สุนทรวาทิน (16 กันยายน พ.ศ. 2458 - 10 เมษายน พ.ศ. 2554) เป็นศิลปิน และนักวิชาการชาวไทยด้านศิลปวัฒนธรรมแบบราชสำนัก มีความสามารถในด้านการละคร ชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทวงเครื่องสายและวงมโหรี โดยเฉพาะซอสามสาย มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงประกอบการแสดงนาฏกรรม รวมถึงเพลงไทยเพื่อการฟังตามแบบฉบับและแนวทางร่วมสมัย กล่าวได้ว่า เป็นผู้ที่มีน้ำเสียงไพเราะ ขับร้องด้วยอารมณ์อันสมจริง ประณีตละเมียดละไม ได้อรรถรสของวรรณคดี ได้รับการขนานนามจากนักดนตรีไทยว่าเป็น “เพชรประดับมงกุฎแห่งคีตศิลป์ไทย” เจริญใจ สุนทรวาทิน เป็นที่รู้จักในวงการเพลงไทยตั้งแต่วัยเยาว์ เคยเป็นข้าราชบริพารในยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เคยได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติจากการประกวดขับร้องเพลงไทย เป็นครูผู้ควบคุมวงดนตรีและสอนการขับร้องเพลงไทย เป็นอาจารย์ผู้ถวายงานสอนดนตรีและขับร้องแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช 2530 จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเจริญใจ สุนทรวาทิน

เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)

้าพระยาวงศานุประพัทธ์ เมื่อ พ.ศ. 2465 ภาพล้อเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 ทรงวาดจากภาพต้นฉบับด้านบน มหาอำมาตย์เอก พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (นามเดิม:หม่อมราชวงศ์สท้าน หรือ หม่อมราชวงศ์กลาง) (24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)

เจ้าจอมมารดาอ่วม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาอ่วม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของพระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (เจ้าสัวยิ้ม พิศลยบุตร) เป็นเจ้าของเรือกลไฟชื่อ "เจ้าพระยา" เดินทางระหว่าง กรุงเทพฯ - สิงคโปร์ ซึ่งเป็นเพียงลำเดียวในสมัยนั้น มารดาชื่อ "ปราง" (สกุลเดิม "สมบัติศิริ") ท่านเกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเจ้าจอมมารดาอ่วม ในรัชกาลที่ 5

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (information technology: IT) คือการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดำเนินการข้อมูล ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจหนึ่งหรือองค์การอื่น ๆ ศัพท์นี้โดยปกติก็ใช้แทนความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และยังรวมไปถึงเทคโนโลยีการกระจายสารสนเทศอย่างอื่นด้วย เช่นโทรทัศน์และโทรศัพท์ อุตสาหกรรมหลายอย่างเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์กึ่งตัวนำ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์โทรคมนาคม การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการทางคอมพิวเตอร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเทคโนโลยีสารสนเทศ

เขื่อนสิรินธร

ื่อนสิรินธร เป็นเขื่อนดินเอนกประสงค์ที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ตั้งอยู่ในอำเภอสิรินธร (เดิมอยู่ในเขตอำเภอพิบูลมังสาหาร) จังหวัดอุบลราชธานี.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเขื่อนสิรินธร

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเขตบางพลัด

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ทางเดินศึกษาธรรมชาติ ภายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือ ป่าพรุโต๊ะแดง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ป่าพรุโต๊ะแดง หรือ ป่าพรุสิรินธร เป็นป่าพรุที่มีเนื้อที่มากที่สุดที่ยังเหลืออยู่ในประเทศไทย เนื้อที่ของป่ามีความกว้างประมาณ 8 กิโลเมตร และมีความยาวประมาณ 28 กิโลเมตร มีพื้นที่ครอบคลุมอาณาเขตของอำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี อำเภอสุไหงโก-ลก อำเภอเจาะไอร้อง และอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส คิดเป็นเนื้อที่กว่า 125,625 ไร่ (แต่ส่วนที่สมบูรณ์จริง ๆ มีประมาณ 50,000 ไร่) มีแหล่งน้ำสำคัญ 3 สายไหลผ่าน คือ แม่น้ำบางนรา, คลองสุไหงปาดี และคลองโต๊ะแดง (อันเป็นที่มาของชื่อเรียก) ป่าแห่งนี้เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ป่าหลากหลายชนิด ซึ่งหลายชนิดอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์ และพื้นที่รอบๆป่าก็เป็นพื้นที่เพาะปลูกข้าว ยาง และผลไม้ต่าง ๆ โดยมีศูนย์วิจัยและศึกษาพันธ์ป่าพรุสิรินธร ซึ่งตั้งอยู่ ณ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก ใช้เวลาเดินทางจากตัวเมืองสุไหงโกลก ผ่านทางหลวงสายสุไหงโกลก - ตากใบ แล้วเลี้ยวซ้ายตรงแยกชวนันท์ ด้วยระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตรจากตัวเมืองสุไหงโกลก เดินศึกษาธรรมชาติยาวกว่า 1,200 เมตร ภายในศูนย์ฯมีเส้นทางเดินศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของป่าผ่าใจกลางป่าพรุ มีหอคอย และศูนย์บริการข้อมูล ตลอดจนซุ้มแสดงประวัติและข้อมูลขอลพืช พันธ์ และสัตว์ต่างๆในพื้นที่ป่าพรุโดยรอบ ใช้เวลาเดินประมาณ 45 - 60 นาที.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เครือเทพรัตน์

รือเทพรัตน์ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Malvaceae ลักษณะของดอกคล้ายดอกชบาแต่กลีบดอกไม่บานออกเท่า เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย พบที่จังหวัดตากเท่านั้น พบครั้งแรกในประเทศไทยโดย ดร.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครือเทพรัตน์

เครื่องราชอิสริยยศไทย

รื่องยศ หรือ เครื่องราชอิสริยยศ คือ เครื่องหมายแสดงเกียรติยศ เครื่องประกอบยศ และบำเหน็จความชอบที่พระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่สมัยโบราณสร้างขึ้นเพื่อ พระราชทานให้แก่ ราชตระกูล ขุนนาง ข้าราชการ และบุคคลทั่วไป ที่มีตำแหน่ง หน้าที่ ความชอบในแผ่นดินให้ปรากฏตามยศชั้น และฐานันดรศักดิ์นั้นๆ ของผู้ได้รับพระราชทาน จากจดหมายเหตุของ นิโคลาส แซแว กล่าวถึงความหมายของเครื่องยศในสมัยกรุงศรีอยุธยาว่า เราจะรู้จักความสำคัญของขุนนางเหล่านี้ในหน้าที่สาธารณได้ ไม่เพียงแต่จากหีบหมากพระราชทาน จากรูปพรรณและเนื้อโลหะ ขอบหลอมพอก จากฐานะของเรือที่ใช้เป็นยานพาหนะ จากดาบที่คาด หรือที่มีผู้เชิญไปข้างหน้าเท่านั้น แต่ยังจะรู้ได้จากจำนวนทาสที่ติดตามหลังอีกด้ว.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยยศไทย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎ

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎ (Order of the Precious Crown) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ญี่ปุ่น สถาปนาในปี..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ (The boy scout citation medal (Special class)) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานอนุญาตให้จัดสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ (The Most Admirable Order of the Direkgunabhorn) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดารานพรัตนขึ้นสำหรับใช้ประดับที่เสื้อ ซึ่งทรงเรียกว่า "เครื่องประดับสำหรับยศ" นอกจากนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างแหวนนพรัตนสำหรับพระราชทานแก่พระราชวงศ์ฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ตลอดจนข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งเป็นพุทธมามกะ ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างดวงตรามหานพรัตน สำหรับห้อยสายสะพายขึ้นเป็นครั้งแรกของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะ และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้นราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑๕, ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง เล่มที่ ๒, ๔ ธันวาคม..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

รื่องหมายแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ คือ เหรียญ และตรา อันเป็นเครื่องประดับยศ เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เปลี่ยนจากคำว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" มาเป็นคำว่า "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มี ๔ ประเภท ดังนี้.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

เครื่องอิสริยาภรณ์

รื่องอิสริยาภรณ์ คือ เหรียญ และตรา อันเป็นเครื่องประดับยศของฝรั่งเศส และ สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) และจากนั้นได้แพร่หลายไปยังประเทศที่มีราชวงศ์ เครื่องอิสริยาภรณ์จากประเทศที่มีกษัตริย์เรียกว่า เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ส่วนประเทศที่ไม่มีกษัตริย์เรียกว่า เครื่องอิสริยาภรณ.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องอิสริยาภรณ์

เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย

รื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย (Ehrenzeichen für Verdienste um die Republik Österreich, Decoration of Honour for Services to the Republic of Austria หรือ Order of Merit of the Austrian Republic) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชาติของสาธารณรัฐออสเตรีย ถือเป็นเครื่องอิสริยภรณ์ที่มีลำดับเกียรติสูงสุดของประเท.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

เครื่องดนตรีไทย

รื่องดนตรีไทย คือ เครื่องดนตรี ที่สร้างสรรค์ขึ้นตามศิลปวัฒนธรรมดนตรีของไทย ที่มีรูปแบบเอกลักษณ์ของความเป็นไทย ซึ่งสัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของคนไทย โดยนิยมแบ่งตามอากัปกิริยา ของการบรรเลง คือเครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่า เครื่องดนตรีหลัก ๆ ได้แก่ ปี่ ซอ ซออู้ ซอด้วง ระนาด ฆ้อง จะเข้ ฉิ่ง ฉาบ กลองยาว โหม่ง และ กรั.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเครื่องดนตรีไทย

เงินตรา

งิน หมายถึง วัตถุหรือเอกสารใด ๆ ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการแลกเปลี่ยนกับสินค้าและบริการและใช้ชำระหนี้ในประเทศหรือในบริบทสังคมเศรษฐกิจหนึ่งๆตามตัวบทกฎหมาย หน้าที่หลักของเงินจำแนกได้ว่า (1) เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน (2) เป็นหน่วยวัดมูลค่า (3) เป็นเครื่องเก็บรักษามูลค่า และ (4) บางครั้งในอดีต เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ภายหน้าT.H.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเงินตรา

เซนต์เบอร์นาร์ด (พันธุ์สุนัข)

ซนต์เบอร์นาร์ด เซนต์เบอร์นาร์ด (ด้านข้าง) ลูกสุนัข เซนต์เบอร์นาร์ด (St.) เป็นสุนัขที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และประเทศอิตาลี มีร่างกายใหญ่ล่ำ จัดเป็นประเภทสุนัขใช้งาน โดยสายพันธุ์นี้ได้นำมาใช้ฝึกสอนให้สุนัขกู้ภัย เช่น ดมกลิ่นตามหานักท่องเที่ยวที่สูญหาย ช่วยเหลือคนตกน้ำ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วสายพันธุ์นี้มีนิสัยใจดีและเข้ากับคนได้ง่าย ถือเป็นสุนัขประจำชาติสวิตเซอร์แลนด์ เซนต์เบอร์นาร์ด กำเนิดขึ้นราว..

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเซนต์เบอร์นาร์ด (พันธุ์สุนัข)

เปียโน

ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและเปียโน

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ1 เมษายน

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ10 พฤศจิกายน

11 พฤศจิกายน

วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ11 พฤศจิกายน

11 กันยายน

วันที่ 11 กันยายน เป็นวันที่ 254 ของปี (วันที่ 255 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 111 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ11 กันยายน

11 มกราคม

วันที่ 11 มกราคม เป็นวันที่ 11 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 354 วันในปีนั้น (355 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ11 มกราคม

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ11 ตุลาคม

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ12 ธันวาคม

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ13 ธันวาคม

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ15 พฤศจิกายน

15 มีนาคม

วันที่ 15 มีนาคม เป็นวันที่ 74 ของปี (วันที่ 75 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 291 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ15 มีนาคม

17 เมษายน

วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่ 107 ของปี (วันที่ 108 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 258 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ17 เมษายน

18 ธันวาคม

วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ18 ธันวาคม

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ19 พฤศจิกายน

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ2 กรกฎาคม

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ2 เมษายน

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ22 กุมภาพันธ์

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ24 มีนาคม

26 กันยายน

วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ26 กันยายน

27 ธันวาคม

วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ27 ธันวาคม

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ28 มีนาคม

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ29 พฤศจิกายน

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ3 มิถุนายน

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ3 สิงหาคม

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ31 มีนาคม

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ31 สิงหาคม

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ4 สิงหาคม

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ5 ธันวาคม

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ7 มีนาคม

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและ8 ธันวาคม

ดูเพิ่มเติม

ชาวไทยเชื้อสายมอญ

นักการกุศลชาวไทย

นักการทูตชาวไทย

นักวิทยุสมัครเล่นชาวไทย

นักแปลชาวไทย

นายพลชาวไทย

บุคคลจากมหาวิทยาลัยศิลปากร

ผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ

ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ภ.

พระราชบุตรในรัชกาลที่ 9

พลอากาศโทชาวไทย

พลเรือเอกชาวไทย

ราชกุมารี

ราชสกุลมหิดล

ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยปักกิ่ง

เจ้าฟ้าหญิง

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Sirindhornรถยนต์พระที่นั่ง ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรถยนต์พระที่นั่งในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระเทพฯสยามบรมราชกุมารีพระเทพเหรียญที่ระลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

พุทธมณฑลกฎหมายกรมการแพทย์กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์กรมประมงกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกลุ่มภาษาจีนกลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนกกษัตริยานุสรณ์กองอาสารักษาดินแดนกองทัพบกไทยกองทัพอากาศไทยกองทัพเรือไทยการรู้หนังสือการเฉลิมพระยศเจ้านายภาษาบาลีภาษาฝรั่งเศสภาษาละตินภาษาสันสกฤตภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาเยอรมันภาษาเขมรภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเนมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยมาลายามหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วิทยาเขตมุกดาหารมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปางมหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคายมหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมหาวิทยาลัยแม่โจ้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมิลลิเมตรระนาดระนาดเอกรัก (ไม้พุ่ม)รัก (เพลงพระราชนิพนธ์)รัตนตรัยราชการราชกิจจานุเบกษาราชวงศ์จักรีรางวัลรามอน แมกไซไซวัดพระศรีรัตนศาสดารามวังสระปทุมวันมาฆบูชาวันวิสาขบูชาวิทยาลัยกำปงเฌอเตียลวิทยาศาสตร์วงเวียนโอเดียนศาสตราจารย์ศาสนาพุทธศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าวศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติสภากาชาดไทยสมุนไพรสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธรสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสหราชอาณาจักรสหประชาชาติสะพานเทพสุดาสังคมวิทยาสังคมศาสตร์สัตยพรต ศาสตรีสัตว์ปีกสิรินธรวัลลีสีม่วงสีขาวสีเหลืองสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ส้มตำ (เพลงพระราชนิพนธ์)หม่อมหลวงบัว กิติยากรหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยาหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากรหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษห้องสมุดสาธารณะห้องสมุดโรงเรียนอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอักษรขอมอำเภอบางมูลนากอำเภอพานอำเภอพุทธมณฑลอำเภอยะรังอำเภอสหัสขันธ์อำเภอสามพรานอำเภอสิรินธรอำเภอสุไหงโก-ลกอำเภอหาดใหญ่อำเภอเมืองลพบุรีอุดมศึกษาองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติจอมพลจังหวัดพิจิตรจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดกำปงธมจังหวัดราชบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดลำพูนจังหวัดสุรินทร์จังหวัดสงขลาจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอ่างทองจังหวัดขอนแก่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดปัตตานีจังหวัดนราธิวาสจังหวัดนครปฐมจังหวัดนครนายกจังหวัดเชียงรายจังหวัดเพชรบุรีจังหวัดเลยจำปีสิรินธรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนสิรินธรทรัมเป็ตทองคำทำเนียบรัฐบาลไทยท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)ขนมไทยดนตรีดนตรีสากลดนตรีไทยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรค่ายสิรินธรฉัตรซอซอด้วงปฐมจุลจอมเกล้าประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์ไทยประเทศฟิลิปปินส์ประเทศพม่าประเทศกัมพูชาประเทศมาเลเซียประเทศลาวประเทศอินเดียประเทศจีนประเทศนอร์เวย์ประเทศไทยประเทศเวียดนามปริญญากิตติมศักดิ์ปลาปลาทองปลาเทวดาปูเจ้าฟ้านกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธรนักวิจัยดีเด่นแห่งชาตินาฏศิลป์นามปากกานิทานเรื่องเกาะ (เรื่องนี้ไม่มีคติ)นครหลวงเวียงจันทน์แมลงปอแลบราดอร์ริทรีฟเวอร์แขวงเวียงจันทน์โกลเดินริทรีฟเวอร์โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรโรงพยาบาลราชวิถีโรงพยาบาลรามาธิบดีโรงพยาบาลศิริราชโรงพยาบาลสงขลานครินทร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติโรงเรียนช่างฝีมือในวังโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ มหามงคลโรงเรียนพานพิเศษพิทยาโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์โรงเรียนราชวินิตบางแก้วโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรงเรียนสิริรัตนาธรโรงเรียนสิรินธรโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยโรงเรียนจิตรลดาโรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าโรงเรียนนายเรือโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราชโรงเรียนโยธินบูรณะโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโครงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่โครงการอาหารโลกไอโอดีนเพชรเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมษายนเมอร์เซเดส-เบนซ์เมตรเมนูไข่เล็กซัสเสรี หวังในธรรมเส้นผ่านศูนย์กลางเหรียญพิทักษ์เสรีชนเหรียญกาชาดเหรียญรัตนาภรณ์เหรียญราชการชายแดนเหรียญราชรุจิเหรียญลูกเสือสดุดีเหรียญดุษฎีมาลาเอื้องศรีประจิมเอื้องศรีเชียงดาวเจริญใจ สุนทรวาทินเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)เจ้าจอมมารดาอ่วม ในรัชกาลที่ 5เทคโนโลยีสารสนเทศเขื่อนสิรินธรเขตบางพลัดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเครือเทพรัตน์เครื่องราชอิสริยยศไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยเครื่องอิสริยาภรณ์เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรียเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์เครื่องดนตรีไทยเงินตราเซนต์เบอร์นาร์ด (พันธุ์สุนัข)เปียโน1 เมษายน10 พฤศจิกายน11 พฤศจิกายน11 กันยายน11 มกราคม11 ตุลาคม12 ธันวาคม13 ธันวาคม15 พฤศจิกายน15 มีนาคม17 เมษายน18 ธันวาคม19 พฤศจิกายน2 กรกฎาคม2 เมษายน22 กุมภาพันธ์24 มีนาคม26 กันยายน27 ธันวาคม28 มีนาคม29 พฤศจิกายน3 มิถุนายน3 สิงหาคม31 มีนาคม31 สิงหาคม4 สิงหาคม5 ธันวาคม7 มีนาคม8 ธันวาคม