สารบัญ
77 ความสัมพันธ์: ชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์พ.ศ. 2281พ.ศ. 2303พ.ศ. 2343พ.ศ. 2344พ.ศ. 2353พ.ศ. 2363พระมหากษัตริย์พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800พระราชวังวินด์เซอร์พระราชวังเซนต์เจมส์พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 แห่งเวือร์ทเทมแบร์กพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งสวีเดนการปฏิวัติฝรั่งเศสภาษาอังกฤษรัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์คราชวงศ์แฮโนเวอร์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรลอนดอนสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักรสภาขุนนางสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหรัฐสหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สงครามปฏิวัติอเมริกาสงครามนโปเลียนสงครามเจ็ดปีอาเดิลไฮด์แห่งซัคเซิน-ไมนิงเงินฮันโนเฟอร์ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์... ขยายดัชนี (27 มากกว่า) »
ชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์
ซฟี ชาร์ลอตต์ ฟอน เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (Sophie Charlotte von Mecklenburg-Strelitz) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ พระนางเป็นคู่อภิเษกสมรสในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร ทำให้พระนางมียศเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์หลังการสมรสในปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์
พ.ศ. 2281
ทธศักราช 2281 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2281
พ.ศ. 2303
ทธศักราช 2303 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2303
พ.ศ. 2343
ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2343
พ.ศ. 2344
ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2344
พ.ศ. 2353
ทธศักราช 2353 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2353
พ.ศ. 2363
ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2363
พระมหากษัตริย์
กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระมหากษัตริย์
พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800
งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระราชบัญญัติสห..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800
พระราชวังวินด์เซอร์
ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังวินด์เซอร์
พระราชวังเซนต์เจมส์
ระราชวังเซนต์เจมส์ (ภาษาอังกฤษ: St. James’s Palace) เป็นพระราชวังที่เก่าแก่ที่สุดพระราชวังหนึ่งในกรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8บนที่เดิมเป็นโรงพยาบาลคนโรคเรื้อนที่อุทิศให้แก่นักบุญเจมส์ ลูกของอัลเฟียส ซึ่งเป็นชื่อที่พระราชวังและอุทยานตั้งตาม โรงพยาบาลถูกยุบเลิกเมื่อปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังเซนต์เจมส์
พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร
ระเจ้าจอร์จที่ 3 สมเด็จพระราชินีชาร์ล็อต พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 (Descendants of King George III) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มต้นจากการอภิเษกสมรสของพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (จอร์จ วิลเลียม เฟรเดริค; 4 มิถุนายน พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร
พระเจ้าฟรีดริชที่ 1 แห่งเวือร์ทเทมแบร์ก
ระเจ้าฟรีดริชที่ 1 วิลเฮล์ม คาร์ล (Friedrich I. Wilhelm Karl) (6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1754 – 30 ตุลาคม ค.ศ. 1816) เป็นกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเวือร์ทเทมแบร์กแห่ง ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 แห่งเวือร์ทเทมแบร์ก
พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร
ระเจ้าวิลเลียมที่ 4 (William IV) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1765 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1837) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ แห่งระหว่างปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร
พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่
ระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (George I of Great Britain, George I von Großbritannien) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 – 11 มิถุนายน ค.ศ. 1727) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่
พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่
ระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ (George II of Great Britain) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่
พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร (George IV of the United Kingdom หรือ George Augustus Frederick) (12 สิงหาคม ค.ศ. 1762 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 1830) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์ฮาโนเวอร์ของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และพระเจ้าแผ่นดินแห่งฮาโนเวอร์ แห่งราชอาณาจักรฮาโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 29 มกราคม..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร
พระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์
แอนสท์ เอากุสท์ (Ernest Augustus) เป็นเจ้าจากราชวงศ์อังกฤษโดยเป็นพระราชโอรสในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร โดยทรงเป็น ดยุกแห่งคัมบาลันด์และสแตรธเอิร์น ต่อมาเมื่อพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 ผู้เป็นพระเชษฐาได้เสด็จสวรรคต พระองค์จึงได้รับเลือกให้สืบราชบัลลังก์ฮันโนเฟอร์ต่อจากพระเชษฐา การที่พระองค์ได้ขึ้นครองบัลลังก์ฮันโนเฟอร์หมายความว่าราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ได้กลายเป็นรัฐอิสระที่ไม่ขึ้นต่อกษัตริย์แห่งอังกฤษ หมวดหมู่:ราชวงศ์อังกฤษ หมวดหมู่:ดยุกแห่งบราวนชไวก์-ลืนเนอบวร์ก หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฮันโนเวอร์ หมวดหมู่:ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หมวดหมู่:บุคคลจากเวสต์มินสเตอร์ หมวดหมู่:ดยุกแห่งคัมบาลันด์ หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์ หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์
พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งสวีเดน
ระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งสวีเดน (Fredrik I; 23 เมษายน พ.ศ. 2219 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2294) เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งสวีเดน
การปฏิวัติฝรั่งเศส
การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและการปฏิวัติฝรั่งเศส
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและภาษาอังกฤษ
รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค
รัฐผู้คัดเลือกฮันโนเฟอร์ (Electorate of Hanover) หรือ รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค (Kurfürstentum Braunschweig-Lüneburg) เป็นหนึ่งในรัฐผู้คัดเลือกลำดับที่เก้าของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค
ราชวงศ์แฮโนเวอร์
ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์แฮโนเวอร์
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่
ราชอาณาจักรสกอตแลนด์
ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ (Rìoghachd na h-Alba; Kinrick o Scotland; Kingdom of Scotland) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรประหว่างปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรสกอตแลนด์
ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์
ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ (Königreich Hannover) ก่อตั้งขึ้นในเดือนตุลาคมปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์
ราชอาณาจักรไอร์แลนด์
ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ (ภาษาเกลลิค: Ríocht na hÉireann; ภาษาอังกฤษ: Kingdom of Ireland) เป็นชื่อที่เรียกรัฐไอร์แลนด์ตั้งแต่ปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรไอร์แลนด์
ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์
ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ (Monarchy of Ireland).
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชาธิปไตยของไอร์แลนด์
ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร
ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร
รายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร
ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีประมุขมาแล้ว 12 พระองค์ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร
ลอนดอน
ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและลอนดอน
สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร
มัญชน (House of Commons) เป็นสภาล่างในรัฐสภาแห่งอังกฤษ ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาสามัญชน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันมาจากการเลือกตั้งทุกห้าปี ในปัจจุบันมีสมาชิกสภาจำนวน 650 ที่นั่ง จากการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร
สภาขุนนาง
นนาง (House of Lords) เป็น สภาสูงในรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยขุนนางมีบรรดาศักดิ์จำนวนเจ็ดถึงแปดร้อยคน ทุกคนมาจากการแต่งตั้งและสืบตระกูล ทำหน้าที่ร่วมกับกับสภาสามัญชนซึ่งเป็นสภาล่างซึ่งมีสมาชิกทั้งหมดจากการเลือกตั้ง สภาขุนนางจะแยกเป็นอิสระจากสภาสามัญชน โดยมีอำนาจถ่วงดุลและตรวจสอบการทำงานของรัฐสภา โดยเฉพาะการพิจารณาเพื่อผ่านร่างกฎหมาย โดยสภาขุนนางมีอำนาจที่จะระงับการบังคับใช้กฎหมายได้ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้รัฐบาล สภาสามัญชน และประชาชนร่วมกันพิจารณาถึงความจำเป็นของร่างกฎหมายนั้นๆอย่างรอบคอบ สภาขุนนางยังมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และป้องกันมิให้มีกฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งในประเทศอื่นๆ จะมีศาลรัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่แทน สภาชิกสภาขุนนางแบ่งเป็นสี่ประเภท คือ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสภาขุนนาง
สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์
มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์
สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ
มเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ (Κωνσταντῖνος Βʹ, Konstantínos IIʹ; พระราชสมภพ 2 มิถุนายน 2483) เป็นพระมหากษัตริย์ของกรีซ ตั้งแต่ปี 1964 จนถึงการล้มล้างระบอบกษัตริย์ในปี 1973 พระองค์ขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระเจ้าพอลที่ 1 แห่งกรีซพระราชบิดาของพระองค์ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งกรีซ ในราชวงศ์กลึคสบวร์ก แม้ว่าพระองค์จะทรงเป็นที่รักของประชาชน แต่ในไม่ช้าประเทศกรีซก็เกิดการขัดแย้งและนำไปสู่การรัฐประหาร เมื่อวันที่ 21 เมษายน 1967 หลังจากการรัฐประหาร พระองค์ทรงถูกเนรเทศโดยกองทัพพร้อมกับพระบรมวงศานุวงศ์ ให้ออกจากประเทศกรีซและมิให้กลับมาอีก.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ
สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน
มเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ (สวีเดน: Carl XVI Gustaf; Carl XVI Gustaf of Sweden) ทรงเป็นประมุของค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรสวีเดน เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน
สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน
มเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 (Felipe VI; พระนามเดิม เฟลิเป ฆวน ปาโบล อัลฟอนโซ เด โตโดส โลส ซานโตส เด บอร์บอน เด เกรเซีย) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน พระราชสมภพ 30 มกราคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน
สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสหรัฐ
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักร
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์
สงครามปฏิวัติอเมริกา
งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสงครามปฏิวัติอเมริกา
สงครามนโปเลียน
งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสงครามนโปเลียน
สงครามเจ็ดปี
ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสงครามเจ็ดปี
อาเดิลไฮด์แห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน
อาเดิลไฮด์แห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน (Adelheid von Sachsen-Meiningen) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ประสูติเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและอาเดิลไฮด์แห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน
ฮันโนเฟอร์
ันโนเฟอร์ (Hannover) เป็นเมืองหลวงของรัฐนีเดอร์ซัคเซินในประเทศเยอรมนี มีประชากร 515,772 คน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) เคยถูกปกครองโดยเป็นรัฐร่วมประมุขของราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ โดยดยุกแห่งดัชชีเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค ต่อมาหลังจากสงครามนโปเลียน ได้ตั้งเป็นราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ ปัจจุบัน ฮันโนเฟอร์เป็นศูนย์กลางในการจัดงานแสดงสินค้าและการประชุม เป็นเจ้าภาพในการจัดงานแสดงนิทรรศการนานาชาติหรือเอ็กซ์โป 2000 และจัดงาน CeBIT กับ Hanover Fair เป็นประจำทุกปี ฮันโนเฟอร์เป็นอีกเมืองหนึ่งที่จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและฮันโนเฟอร์
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
จอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์
จอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์ (John Stuart, 3rd Earl of Bute) หรือ ลอร์ดเมานต์สจวต (Lord Mount Stuart) เป็นขุนนางชาวสกอตแลนด์เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร ระหว่างปี ค.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์น สจวต เอิร์ลที่ 3 แห่งบิวต์
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1
นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ทวีปอเมริกาเหนือ
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและทวีปอเมริกาเหนือ
ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง
้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ “รัชทายาท” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง (Heir apparent) คือทายาทผู้ (นอกจากมีเหตุการณ์อันคาดไม่ถึง) ที่ไม่สามารถมีผู้ใดมาแทนได้ในการรับตำแหน่งหรือมรดก เป็นคำที่ตรงกันข้ามกับคำว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” (heir presumptive) ผู้เป็นทายาทอยู่ในสายที่มีสิทธิแต่อาจจะมาแทนได้เมื่อใดก็ได้ กรณีที่หมายถึงทายาทตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลโดยเฉพาะในกรณีของพระมหากษัตริย์จะเรียกว่ารัชทายาท (heir to the throne) และใช้เป็นอุปลักษณ์ว่าผู้นั้นเป็นผู้ได้ผ่านพิธีในการยอมรับในตำแหน่งเช่นว่าอย่างเป็นทางการ (“anointed”) ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมืองหรือผู้นำทางธุรกิจ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ไม่ปรากฏบ่อยนักและถ้าใช้ในภาษาอังกฤษก็มักจะใช้ในรูป “Heir Apparent” สถาบันพระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่แล้วก็จะมีตำแหน่งเป็นทางการสำหรับรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเช่น “มกุฎราชกุมาร” หรือมีตำแหน่งที่มีชื่อเฉพาะเช่น “เจ้าชายแห่งออเรนจ์” (Prince of Orange) ในเนเธอร์แลนด์ “เจ้าชายแห่งเวลส์” ในสหราชอาณาจักร หรือ เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ในสเปน ดยุกแห่งบราบันต์ ใน เบลเยียม.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง
ดยุกแห่งเอดินบะระ
กแห่งเอดินบะระ (Duke of Edinburgh) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุกในบรรดาศักดิ์แห่งสหราชอาณาจักร (ตั้งตามชื่อเมืองเอดินบะระของสกอตแลนด์) โดยได้มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ทั้งสิ้น 4 สมัย โดยในสมัยปัจจุบันผู้ดำรงตำแหน่งนี้คือเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในอนาคตบรรดาศักดิ์นี้จะเป็นของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ถ้าเจ้าชายชาลส์ยังไม่ได้สืบทอดราชบัลลังก์ ถ้าทรงสืบราชบัลลังก์เรียบร้อยแล้ว ตำแหน่งจะเป็นของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็ก.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งเอดินบะระ
คริสตจักรแห่งอังกฤษ
ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและคริสตจักรแห่งอังกฤษ
คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล
รลีเนอ อมาเลีย เอลีซาเบ็ท แห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล (Caroline Amalie Elisabeth von Braunschweig-Wolfenbüttel) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันซึ่งอภิเษกเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ คาโรลีเนอประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและคาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศฝรั่งเศส
ประเทศอินเดีย
อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศอินเดีย
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและนายกรัฐมนตรี
โซฟี โดโรเทอา แห่งฮันโนเฟอร์
ซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์ พระราชินีแห่งปรัสเซีย หรือ โซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์ (Sophia Dorothea of Hanover; 16 มีนาคม ค.ศ. 1687 - 28 มิถุนายน ค.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและโซฟี โดโรเทอา แห่งฮันโนเฟอร์
โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์
ซฟีแห่งพาลาทิเนต (Sophie von der Pfalz) หรือ โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ (Sophie von Hannover) หรือ โซเฟียแห่งแฮโนเวอร์ (Sophia of Hanover) เป็นเจ้าหญิงเยอรมัน-สกอตแลนด์ ผู้กลายเป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ จากการที่นางเป็นพระราชนัดดา (หลานตา) ในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษทำให้เธอมีสิทธิในราชบัลลังก์อังกฤษ ท่านหญิงโซฟีเกิดเมื่อ 14 ตุลาคม..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์
เจ้าชายอดอลฟัส ดยุกแห่งเคมบริดจ์
้าชายอดอลฟัส ดยุคแห่งแคมบริดจ์ (Prince Adolphus, Duke of Cambridge; 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2317 กรกฎาคม พ.ศ. 2393) ทรงสถาปนาเป็น ดยุคแห่งแคมบริดจ์เมื่อพระชนมายุ 27 พรรษา ทรงเข้าอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงออกัสตา แห่งเฮสส์-คาสเซิล เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอดอลฟัส ดยุกแห่งเคมบริดจ์
เจ้าชายแห่งเวลส์
้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแห่งเวลส์
เจ้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานี
้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานี (16 สิงหาคม พ.ศ. 2306 - 5 มกราคม พ.ศ. 2370) ทรงสถาปนาเป็นดยุกแห่งยอร์กและออลบานีเมื่อพระชนมายุ 21 พรรษา ทรงเข้าอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเฟรเดอริกา ชาร์ลอต แห่งปรัสเซีย เมื่อพระชนมายุ 28 พรรษ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเฟรเดอริก ดยุกแห่งยอร์กและออลบานี
เจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์
้าชายเฟรเดอริก หลุยส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (Frederick Louis, Prince of Wales) ประสูติเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1707 เป็นสมาชิกแห่งพระราชวงศ์แฮโนเวอร์ และต่อมาพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 ทรงเป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 และพระอัยกาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งหลังจากการผ่านพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์
เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น
้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น ประสูติเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310 ณ วังบักกิงแฮม พระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร และพระนางชาร์ลอต ทรงได้รับการเฉลิมพระราชอิสริยยศเป็นดยุคแห่งเคนท์และสตราเธิร์น เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรธเอิร์น
เจ้าหญิงชาร์ลอตต์ พระราชกุมารี
้าหญิงชาร์ลอตต์ พระราชกุมารี (Charlotte, Princess Royal) ทรงเป็นเจ้าหญิงอังกฤษ ทรงอภิเษกสมรสกับกษัตริย์แห่งเวือร์ทเทมแบร์กทำให้มีพระยศเป็นพระราชีนีเวือร์ทเทมแบร์ก ประสูติเมื่อ 29 กันยายน..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงชาร์ลอตต์ พระราชกุมารี
เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์
้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Princess Victoria of Saxe-Coburg-Saalfeld) หรือเมื่อแรกประสูติคือ มารี ลุยส์ วิกตอรี (Marie Luise Victoire) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันผู้ทรงเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์
เจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา
้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา-อัลเทนบูร์ก (Princess Augusta of Saxe-Gotha-Altenburg) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันที่ทรงอภิเษกเข้าสู่ราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระชายาในเจ้าชายแห่งเวลส์ระหว่าง..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-โกทา
เจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์
้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ (Princess Augusta of Cambridge) (ออกัสตา แคโรไลน์ ชาร์ล็อต เอลิซาเบธ แมรี โซเฟีย หลุยส์; 19 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์
เดวิด แคเมอรอน
วิด วิลเลียม ดอนัลด์ แคเมอรอน (David William Donald Cameron) เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1966 เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ อีกทั้งเดวิดยังดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 53 คนปัจจุบันแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและเดวิด แคเมอรอน
1 มกราคม
วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและ1 มกราคม
25 ตุลาคม
วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและ25 ตุลาคม
29 มกราคม
วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและ29 มกราคม
31 ธันวาคม
วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและ31 ธันวาคม
4 มิถุนายน
วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและ4 มิถุนายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ George III of Great BritainGeorge III of the United Kingdomสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าจอร์จที่ 3พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่