เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

ดัชนี สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

สารบัญ

  1. 216 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรีบัวหลวงบังเหียน (มุทราศาสตร์)บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ฟอบส์พ.ศ. 2469พ.ศ. 2479พ.ศ. 2490พ.ศ. 2495พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)พรรคนาซีพรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชวังบักกิงแฮมพระราชวังวินด์เซอร์พระสันตะปาปาพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรพัน กี-มุนพาราลิมปิกฤดูร้อน 2012พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบกระเทียมต้นกวาเม อึนกรูมาการลดธงครึ่งเสาการลงประชามติว่าด้วยสาธารณรัฐออสเตรเลีย พ.ศ. 2542การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์การผ่าท้องทำคลอดการผ่าตัดส่องกล้องการถือผิวการประสูติของพระเยซูการให้เอกราชฝ้ายภาษาอังกฤษมอนทรีออลมาร์ก ฟิลลิปส์มาร์กาเรต แทตเชอร์มาเรียแห่งเท็ครอยัลไฮเนสรัฐสภาสหราชอาณาจักรรัฐควิเบกรัฐในอารักขาราชกุมารี... ขยายดัชนี (166 มากกว่า) »

  2. ดัชเชสแห่งเอดินบะระ
  3. ประมุขแห่งรัฐปากีสถาน
  4. ประมุขแห่งรัฐแคนาดา
  5. ประมุขแห่งเครือจักรภพ
  6. พระมหากษัตริย์ซีลอน
  7. พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร
  8. พระมหากษัตริย์แอฟริกาใต้
  9. พระราชธิดาในสมเด็จพระจักรพรรดิ
  10. ราชวงศ์วินด์เซอร์
  11. ราชินีนาถแห่งบริติชไอลส์

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

บริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี

บริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี หรือ ดินแดนแอนตาร์กติกาของสหราชอาณาจักร (British Antarctic Territory) เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของทวีปแอนตาร์กติกาซึ่งสหราชอาณาจักรประกาศอ้างสิทธิครอบครอง มีขอบเขตตั้งแต่ขั้วโลกใต้จนถึงละติจูดที่ 60 องศาเหนือ และช่วงระหว่างลองติจูด 20 องศาตะวันตก ถึงลองติจูด 80 องศาตะวันตก แม้ว่าสหราชอาณาจักรจะเริ่มอ้างสิทธิในพื้นที่นี้มาตั้งแต่ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี

บัวหลวง

ัวหลวง หรือ บัวหลวงอินเดีย (Indian Lotus, Sacred Lotus, Bean of India) เป็นพืชน้ำในสกุลบัวหลวง วงศ์บัว.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบัวหลวง

บังเหียน (มุทราศาสตร์)

40px) บังเหียน (Label) ในมุทราศาสตร์ “บังเหียน” คือเครื่องหมายที่มีลักษณะคล้ายบังเหียนม้าที่มีพู่ ที่ใช้เป็นเครื่องหมายที่ใช้เป็นเครื่องหมายแสดงเอกลักษณ์ (Brisures) เช่นในอังกฤษเครื่องหมายบังเหียนสามพู่ใช้บนตราอาร์มของลูกชายคนโต เครื่องหมายแสดงเอกลักษณ์เป็นเครื่องหมายที่แสดงความแตกต่างของตราอาร์มเพื่อทำให้ตราเป็นตราที่เป็นเอกลักษณ์ต่างจากตราอื่นๆ เช่นลูกชายคนโตจะใช้บังเหียนบน “ตราเอก” ของประมุขผู้ถือตรา (armiger) ระหว่างที่ผู้ถือตรายังมีชีวิตอยู่ ลูกชายคนที่สองจะใช้พระจันทร์เสี้ยว ลูกชายคนที่สามใช้ดาวห้าแฉก และอื่นๆ เป็นต้น จำนวนพู่บางครั้งก็ไม่มีความหมายแต่อย่างใดแต่บางครั้งก็จะมี เช่นพู่สามพู่เป็นสัญลักษณ์ของทายาทขณะที่ผู้ถือตราเอกผู้เป็นบิดายังมีชีวิตอยู่ ถ้าห้าพู่เป็นสัญลักษณ์ของทายาทขณะที่ผู้ถือตราเอกผู้เป็นปู่ยังมีชีวิตอยู่ และเจ็ดพู่ก็เมื่อทวดยังมีชีวิตอยู.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบังเหียน (มุทราศาสตร์)

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ฟอบส์

อดีตอาคารสำนักงานใหญ่นิตยสารฟอบส์ในนครนิวยอร์ก ฟอบส์ (Forbes) เป็นชื่อของนิตยสารเกี่ยวกับธุรกิจและการเงินในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและฟอบส์

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2469

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2479

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2490

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2495

พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)

รรคอนุรักษนิยม (Conservative Party) หรือชื่อเดิมว่า พรรคอนุรักษนิยมและสหภาพนิยม คือพรรคการเมืองกลาง-ขวาในสหราชอาณาจักรที่ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของลัทธิอนุรักษนิยมและลัทธิการรวมชาติบริเตน ซึ่งเป็นพรรคที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักรโดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในรัฐสภาจำนวน 330 คน สมาชิกสภาท้องถิ่นทั่วประเทศ 9,391 คน และเป็นพรรคการเมืองจากสหราชอาณาจักรที่มีที่นั่งในรัฐสภายุโรปมากที่สุดจำนวน 25 ที่นั่ง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นรัฐบาลเสียงข้างมากในสภาสามัญชนโดยมีหัวหน้าพรรคคือนางเทเรซา เมย์ เป็นนายกรัฐมนตรี พรรคมักถูกเรียกขานว่า พรรคขุนนาง (Tory Party) หรือ พวกขุนนาง (Tories) พรรคอนุรักษนิยมก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)

พรรคนาซี

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพรรคนาซี

พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)

รรคแรงงาน (Labour Party) เป็น พรรคการเมืองกลาง-ซ้ายในสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นหนึ่งในสามพรรคการเมืองใหญ่ของประเทศ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระราชวังบักกิงแฮม

ระราชวังบักกิงแฮม (Buckingham Palace) เดิมชื่อ คฤหาสน์บักกิงแฮม เป็นพระราชวังที่เป็นที่ประทับเป็นทางการของราชวงศ์อังกฤษตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักรเป็นสถานที่ที่ใช้สำหรับการเลี้ยงรับรองของรัฐและยังเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวสำคัญที่หนึ่งของกรุงลอนดอน และยังเป็นที่รวมพลังใจทั้งในการฉลองและในยามคับขันของชาวอังกฤษ พระราชวังบักกิงแฮมแต่เดิมชื่อ “คฤหาสน์บักกิงแฮม” (Buckingham House) สิ่งก่อสร้างเดิมเป็นคฤหาสน์ที่สร้างสำหรับจอห์น เชฟฟิลด์ ดยุคแห่งบักกิงแฮมในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังบักกิงแฮม

พระราชวังวินด์เซอร์

ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังวินด์เซอร์

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระสันตะปาปา

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (ประสูติ 8 เมษายน ค.ศ. 1818 — สวรรคต 29 มกราคม ค.ศ. 1906) คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 (อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด; 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2384 – 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ประมุขแห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเป็นพระประมุขพระองค์แรกและพระองค์เดียวของราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระองค์ทรงครองราชสมบัตินับตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

พัน กี-มุน

ัน กี-มุน (Ban Ki-moon;; เกิด 13 มิถุนายน พ.ศ. 2487) เป็นอดีตเลขาธิการสหประชาชาติ คนที่ 8 ต่อจากโคฟี แอนนัน โดยได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพัน กี-มุน

พาราลิมปิกฤดูร้อน 2012

ราลิมปิกฤดูร้อน 2012 (Paralympic 2012) หรือการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการระดับโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 29 สิงหาคม ถึง 9 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพาราลิมปิกฤดูร้อน 2012

พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์

ีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 248 หรือพิธีมหาสนิท(Eucharist; Holy Communion) คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิก, อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และโปรเตสแตนต์บางคณะเรียกว่าศีลมหาสนิท เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับพระเยซู โดยการรับประทานขนมปัง (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และไวน์ (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต) การประกอบพิธีมหาสนิท เพื่อให้ชาวคริสต์ระลึกถึงคุณของพระเป็นเจ้า เพื่อการประกาศยอมรับว่าพระเจ้าได้สถิตอยู่ในกายตน เพื่อแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ และเพื่ออยู่ร่วมกันด้วยความรักในประชาคมเดียวกัน ในนิกายโปรเตสแตนต์ กล่าวคำที่ใช้ในพิธีมหาสนิทตามพระวรสารนักบุญลูกา ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก กล่าวคำที่ใช้ในพิธีมหาสนิทเฉพาะตามที่พระศาสนจักรคาทอลิกกำหน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์

พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน

การให้บัพติศมาแก่ Neophytes วาดโดยมาซัชโช เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเก็บอยู่ที่ฟลอเรนซ์ พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์ประชากรศาสตร์) พิธีบัพติศมาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 88 (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศีลล้างบาป (ศัพท์คาทอลิก) (Baptism มาจากภาษากรีก baptismos แปลว่า การล้าง) เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ ทำขึ้นเพื่อรับ "ผู้ที่เพิ่งรับเชื่อ" เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของคริสตจักร คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ระบุว่ายอห์นผู้ให้บัพติศมาเริ่มประกอบพิธีนี้ให้สาวกของตน โดยให้ผู้รับจุ่มตัวลงในแม่น้ำลึก ถือเป็นสัญลักษณ์ของการกลับใจและรอคอยอาณาจักรสวรรค์ซึ่งกำลังจะมาถึง พระเยซูทรงรับบัพติศมาจากยอห์นในครั้งนั้นด้วย จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติพระภารกิจของพระองค์ ต่อมาในศาสนาคริสต์ยุคแรก ผู้ให้บัพติศมาจะให้ผู้รับเปลือยกายลงแช่ในแม่น้ำ ซึ่งมีทั้งแบบให้จุ่มทั้งตัว ยืน หรือคุกเข่าในน้ำ แล้ว "ผู้ให้บัพติศมา" จะตักน้ำรดลงบน "ผู้รับบัพติศมา" ในปัจจุบันบางคริสตจักรยังรักษาวิธีการแบบเดิม บางคริสตจักรก็ใช้วิธีเทน้ำรดลงบนหน้าผากของผู้รับสามครั้ง การเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ก็ถือว่าเป็นการรับบัพติศมาด้วย เรียกว่า "พิธีบัพติศมาด้วยเลือด" เชื่อว่ามรณสักขีนั้นได้รับความรอดแล้วแม้จะยังไม่ได้รับบัพติศมาด้วยน้ำก็ตาม คริสตจักรโรมันคาทอลิกปัจจุบันรับรอง "พิธีบัพติศมาแห่งความปรารถนา" ซึ่งหมายถึงความตั้งใจจะรับบัพติศมาแต่เสียชีวิตเสียก่อนเข้าพิธี ก็ถือว่าได้รับความรอดแล้ว คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายประกอบพิธีบัพติศมาแก่ทารกด้วย เพราะเชื่อว่าบัพติศมาเป็นทางแห่งความรอด จนเมื่อฮุลดริช ซวิงลี นักเทววิทยาศาสนาคริสต์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 กล่าวว่าพิธีนี้ไม่จำเป็น คริสตจักรแบปทิสต์จึงประกอบพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเองเท่านั้น ทุกวันนี้คริสต์ศาสนิกชนหลายกลุ่ม โดยเฉพาะเควเกอร์และแซลเวชันอาร์มีถือว่าพิธีนี้ไม่จำเป็นและไม่ประกอบพิธีนี้เลย แต่กลุ่มที่ยังมีพิธีนี้อยู่ก็มีรูปแบบพิธีแตกต่างกันไป ส่วนมากรับบัพติศมา "ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" (โปรเตสแตนต์) หรือ "เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต" (คาทอลิก) โดยถือตามพระมหาบัญชาก่อนการเสด็จขึ้นสวรรค์ของพระเยซู.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน

พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จฯ ทรงเป็นประธานในพิธีเปิด "เกาะมหัศจรรย์" (The Isle of Wonder) คือแนวคิดหลักของพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 พิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 จัดขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ

กระเพาะอาหารกับลำไส้อักเสบ เป็นโรคที่มีการอักเสบของทางเดินอาหารรวมถึงกระเพาะและลำไส้ ทำให้มีอาการถ่ายเหลว อาเจียน และปวดท้อง อาการแต่ละอย่างอาจมากน้อยแตกต่างกันไป หมวดหมู่:กุมารเวชศาสตร์ หมวดหมู่:โรคติดเชื้อ หมวดหมู่:อาการปวดท้อง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ

กระเทียมต้น

กระเทียมต้น (leek) (L.), บางครั้งใช้ว่า Allium porrum เป็นพืชผักชนิดหนึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับหอมและกระเทียม ในวงศ์ Amaryllidaceae วงศ์ย่อย Allioideae ผักที่ใกล้เคียงคือกระเทียมโทน (elephant garlic) และ kurrat ซึ่งเป็นสปีชีส์ย่อยของ Allium ampeloprasum และใช้เป็นอาหารได้ต่างกัน ส่วนที่กินได้ของกระเทียมต้นคือส่วนของกาบใบซึ่งบางครั้งเรียกว่าต้นหรือก้าน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและกระเทียมต้น

กวาเม อึนกรูมา

อึนกรูมา (ซ้าย) และมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์ (ขวา) กวาเม อึนกรูมา (Kwame Nkrumah 21 กันยายน พ.ศ. 2452-27 เมษายน พ.ศ. 2515) เป็นผู้ก่อตั้งและประธานาธิบดีคนแรกของประเทศกานา และเป็นที่รู้จักกันในนามผู้มีอิทธิพลของ แพน-อัฟริกานิซึม ใน ศตวรรษที่ 20.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและกวาเม อึนกรูมา

การลดธงครึ่งเสา

การลดธงชาติไทยครึ่งเสา เพื่อถวายอาลัยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่ศูนย์ประชุมกาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยขอนแก่น การลดธงครึ่งเสา (half-staff, half-mast) หมายถึง การชักธงขึ้นที่เสาธงใดๆ เพียง 1 ใน 3 หรือ 2 ใน 3 ของความยาวเสาธงหรือเสาธงเรือ (ขึ้นอยู่กับกรณีตามที่แต่ละประเทศกำหนด) เพื่อเป็นเครื่องหมายแสดงความเคารพหรือการไว้ทุกข์ ต่อผู้ตาย ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญ ธรรมเนียมการชักธงเพียงครึ่งเสาเริ่มต้นขึ้นเมื่อหลายศตวรรษก่อน เพื่อให้ธงแห่งความตายที่มองไม่เห็น (the invisible flag of death) ได้ชักอยู่บนยอดเสาธงนั้น อันหมายความถึงพลังอำนาจ การมีอยู่ และการปรากฏของความตาย สำหรับวิธีการลดธงครึ่งเสานั้น จะต้องเชิญธงขึ้นไปสู่ยอดเสาเสียก่อน จากนั้นจึงลดธงลงมาอยู่ในระดับครึ่งเสา (ตามระเบียบ นร.ได้กำหนดให้ลดลงจากยอดเสาเพียง ๑ ใน ๓ ของความสูงเสา หรืออีกนัยหนึ่ง ธงจะอยู่ที่ความสูง ๒ ใน ๓ ส่วน ของความสูงเสาธง) หรือตามระดับอื่นที่กำหนดไว้ในกฎหมาย นอกจากนั้น เมื่อจะมีการเชิญธงจากยอดเสาในเวลาสิ้นสุดของวัน จะต้องเชิญธงกลับขึ้นไปที่ยอดเสาเสียก่อน จึงจะลดธงได้เช่นกัน การไว้ทุกข์ด้วยธงชาติสำหรับบางประเทศยังอาจมีธรรมเนียมที่ต่างออกไป เช่น ในกรณีของประเทศญี่ปุ่น จะมีการเพิ่มแถบผ้าสีดำไว้เหนือธงชาติ เพื่อเป็นสัญลักษณ์ในการไว้ทุกข์ ธงชาติซาอุดีอาระเบียไม่มีการลดธงครึ่งเสา สำหรับธงชาติซาอุดีอาระเบีย ธงชาติโซมาลีแลนด์ ธงชาติอิหร่าน ธงชาติอัฟกานิสถานและธงชาติอิรัก ถือเป็นธงชาติที่จะไม่มีการลดธงครึ่งเสา เนื่องจากข้อความชะฮาดะฮ์ หรือ(และ)ตักบีร์บนธงมีความหมายถึง พระนามของอัลลอฮ์ (พระเจ้า) จึงไม่อาจใช้ธงนี้เป็นสัญลักษณ์ในการแสดงความอาลัยได้ การลดธงครึ่งเสาเพื่อแสดงความไว้อาลัยต่อการสูญเสียบุคคลสำคัญของประเทศครั้งแรกในสยามเกิดขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อคราวสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสวรรคต (ขณะดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระนางรำเพยภมราภิรมย์ สิ้นพระชนม์) เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2404 บรรดาฝรั่งลดธงลงครึ่งเสา 3 วัน ครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระยาศรีพิพัฒน์หัวหน้าคณะทูตสยามไปเจริญพระราชไมตรียังประเทศฝรั่งเศส มีข้อความว่า “แม่เพอยนี้ถึงในกรุงเทพฯ ท่านทั้งปวงว่าเป็นเจ้าเล็กเจ้าน้อยก็ดีแต่ในเมืองที่มาทำสัญญาไมตรีแลลูกค้าพาณิชต่างประเทศเป็นอันมากเขานับถือว่าเป็นคนโตคนใหญ่ ตั้งแต่วันสิ้นชีวิตลงแล้ว กงสุลต่างประเทศ บรรดาที่มีธงเขาก็ลดธงครึ่งเสาให้สามวัน เรือกำปั่นที่จอดทอดอยู่ในแม่น้ำทุกลำ กงสุลก็ป่าวร้องให้ลดธงแลไขว้เชือกแดงสำแดงให้รู้ว่าเศร้าโศกสามวัน...ก็หนังสือนี้จะมาถึงท่านทั้งปวงเมื่อใดที่ตำบลใดก็ยังไม่ทราบ ถ้าได้หนังสือนี้ที่เรือหรือที่บกควรจะยกธงกึ่งเสาเป็นคำนับสามวันหรือเจ็ดวันอย่างไร ก็จงคิดเป็นเกียรติยศแก่ข้าพเจ้าด้วย หรืออย่างหนึ่งเมื่อข่าวว่ามารดากวีนวิคตอเรียสิ้นชีพแล้วเข้ามาถึงกรุงเทพฯ พวกกงสุลอังกฤษเขายกธงกึ่งเสาสิบสี่วัน แล้วเขาแต่งด้วยเครื่องดำด้วยสิบสี่วัน แต่รายนี้จะทำสามวันหรือเจ็ดวันก็ควรอยู่แล้ว พวกทูตถ้ามีเครื่องดำแต่ง จะแต่งเครื่องดำด้วยก็ตาม พอให้เป็นเกียรติยศ แต่ถ้าจะสำแดงการอย่างนี้จงประกาศการให้ปรากฏก่อน อย่าให้กิตติศัพท์เลื่องลือผิดกลายเป็นตัวข้าพเจ้าเองไปได้ เพราคนในประเทศเป็นอันมาก แลนอกประเทศบางพวก มันนั่งเร่งนอนเร้าข้าพเจ้าอยู่ ท่านก็จะรู้อยู่แล้ว” จากประโยคที่ยกมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่าบรรดาชาวต่างชาติในพระราชอาณาจักรสยามเมื่อล่วงรู้ข่าวการสิ้นพระชนม์ของพระราชเทวีซึ่งเป็นพระมารดาในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าของพระมหากษัตริย์ต่างแสดงความไว้อาลัยด้วยการป่าวร้องให้ลดธงในสถานกงสุลและบรรดาเรือลดธงลงครึ่งเสา จากนั้นมาธรรมเนียมสากลนี้ถูกนำมาใช้ปฏิบัติต่อเนื่อง แต่ประกาศให้คนทั่วไปได้ทราบข่าวเสียก่อน เพื่อเกรงความเข้าใจผิดพลาด และอาจส่งผลต่อความมั่นคง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการลดธงครึ่งเสา

การลงประชามติว่าด้วยสาธารณรัฐออสเตรเลีย พ.ศ. 2542

border.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการลงประชามติว่าด้วยสาธารณรัฐออสเตรเลีย พ.ศ. 2542

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

การสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

วันที่ 31 สิงหาคม..​ 2540 ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ สิ้นพระชนม์ภายหลังทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ภายในอุโมงค์ทางลอดสะพานปองต์เดอลัลมา กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดดี ฟาเยด พระสหาย และอองรี ปอล คนขับรถ เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ มีผู้รอดชีวิตเพียงคนเดียวคือ เทรเวอร์ รีส์–โจนส์ ผู้ทำหน้าที่องครักษ์  ขบวนช่างภาพปาปารัสซีที่ติดตามไดอานาตกเป็นจำเลยสังคมทันที เนื่องจากมีการนำเสนอข่าวว่าช่างภาพปาปารัสซีเป็นสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ แต่การสืบสวนของหน่วยงานยุติธรรมของฝรั่งเศสซึ่งใช้เวลานานกว่า 18 เดือน สรุปผลว่า นายอองรี ปอล อยู่ในอาการมึนเมาขณะขับรถยนต์และไม่สามารถควบคุมรถซึ่งขับมาด้วยความเร็วสูงได้ จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นในคืนนั้น อองรี ปอล นั้นเป็นรองหัวหน้าแผนกรักษาความปลอดภัยโรงแรมริตซ์ และก่อนเกิดอุบัติเหตุเขาได้ท้าทายกลุ่มช่างภาพปาปารัสซีที่คอยอยู่หน้าโรงแรม เจ้าหน้าที่นิติเวชยังตรวจพบยาต้านอาการทางจิต และยาต้านโรคซึมเศร้าในตัวอย่างเลือดของอองรี ปอลNundy, Julian; Graves, David. . The Daily Telegraph.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการสิ้นพระชนม์ของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

การผ่าท้องทำคลอด

การผ่าท้องทำคลอด (Caesarean section) หรือ ซี-เซกชัน (C-section) หรือ ซีซาร์ (Caesar) เป็นหัตถการทางศัลยศาสตร์กระทำโดยการผ่าที่บริเวณส่วนท้องของมารดา (ผ่าท้องและผ่ามดลูก) เพื่อให้ทารกในครรภ์คลอด มักทำเมื่อการคลอดทางช่องคลอดอาจเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพหรือชีวิตของมารดาหรือเด็ก แม้ในปัจจุบันจะมีการผ่าท้องทำคลอดตามความประสงค์ของมารดามากขึ้น องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าอัตราการผ่าท้องทำคลอดควรทำต่อเมื่อมีความจำเป็นทางการแพทย์เท่านั้น โดยปกติแล้วการผ่าท้องทำคลอดจะใช้เวลาประมาณ 45 นาทีถึงหนึ่งชั่วโมง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการผ่าท้องทำคลอด

การผ่าตัดส่องกล้อง

การผ่าตัดส่องกล้อง (laparoscopy, laparoscopic surgery) เป็นการผ่าตัดโดยการเจาะผ่านช่องท้องหรือผิวหนังใกล้บริเวณอวัยวะที่ต้องการผ่าตัด เพื่อสอดอุปกรณ์ผ่าตัด อุปกรณ์ไฟฉาย และกล้องขนาดเล็กเพื่อบันทึกภาพและส่งมายังจอรับซึ่งทำหน้าที่แทนตาของศัลยแพทย์รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อให้การผ่าตัดสะดวกขึ้นและลดความเจ็บปวดจากแผลผ่าตัดทำให้ระยะพักฟื้นของผู้ป่วยน้อยลง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการผ่าตัดส่องกล้อง

การถือผิว

แผ่นป้ายการแยกผิวบนหาด Durban ในภาษาอังกฤษ ภาษาแอฟริกัน และภาษาซูลู การถือผิวในประเทศแอฟริกาใต้ (Apartheid) เป็นระบบการแบ่งแยกกลุ่มคนต่างเชื้อชาติในประเทศแอฟริกาใต้ออกจากกัน บังคับใช้โดยรัฐบาลของพรรค National Party ในประเทศแอฟริกาใต้ ระหว่างปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการถือผิว

การประสูติของพระเยซู

“การประสูติ” โดยเปตรุส คริสตุส (Petrus Christus) ราว ค.ศ. 1445 การประสูติของพระเยซู (The Nativity of Jesus; the Nativity) หรือพระคริสตสมภพ ถูกกล่าวถึงในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ ส่วนพระวรสารนักบุญมาระโกและพระวรสารนักบุญยอห์นมิได้กล่าวถึงการประสูติของพระเยซูไว้ แหล่งข้อมูลอื่นเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ก็มีแต่มิได้รวมอยู่ในสารบบคัมภีร์ไบเบิล คำบรรยายของพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกากล่าวว่าพระเยซูชาวนาซาเร็ธเป็นบุตรของนางมารีย์ ขณะมีตั้งครรภ์ได้หมั้นอยู่กับโยเซฟจากตระกูลเดวิด เรื่องนี้คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูประสูติจากหญิงพรหมจารีเพราะเป็นการกำเนิดโดยอำนาจของพระวิญญาณบริสุทธิ์โดยมารดามิได้ร่วมประเวณีกับโยเซฟเลย คริสตชนจึงถือว่าโยเซฟเป็นเพียงบิดาบุญธรรม ทูตสวรรค์ได้ประกาศถึงการประสูติพระเยซูต่อคนเลี้ยงแกะ โหราจารย์สามคนก็ทราบเพราะได้เห็นดวงดาว พระวรสารกล่าวว่าการกำเนิดของพระเยซูเป็นไปตามคำพยากรณ์ของเหล่าผู้เผยพระวจนะชาวอิสราเอล การระลึกถึง การแสดง หรือการสร้างสัญลักษณ์เกี่ยวกับการกำเนิดของพระเยซูถือเป็นหัวใจของการฉลองเทศกาลคริสต์มาส เพื่อแสดงความเชื่อว่าพระเยซูชาวนาซาเรธเป็น “พระคริสต์” หรือ “พระเมสสิยาห์” ตามที่ทำนายไว้คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในบางคริสตจักร เช่น โรมันคาทอลิก ถือว่าจุดยอดของการฉลองอยู่ที่พิธีมิสซาเที่ยงคืน หรือเช้าวันคริสต์มาสซึ่งจะเป็นวันที่ 25 ธันวาคมเสมอ ทางอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะอดอาหารก่อนวันคริสต์มาส 40 วัน และวันอาทิตย์สี่วันก่อนคริสต์มาสคริสต์ศาสนิกชนทั้งนิกายโรมันคาทอลิกและแองกลิคันก็จะฉลองเทศกาลเตรียมรับเสด็จพระเยซู เพื่อเป็นการเตรียมตัวทางใจเพื่อความพร้อมที่จะฉลองวันประสูติของพระเยซู.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการประสูติของพระเยซู

การให้เอกราช

การให้เอกราช (decolonization หรือ decolonisation) หมายถึงล้มล้างลัทธิล่าอาณานิคม การก่อตั้งวิธีการปกครองหรือองค์กรบริการอำนาจผ่านทางการสร้างข้อตกลงกับประเทศอื่น ๆ หรือเขตอำนาจศาล คำดังกล่าวมักหมายถึงการได้รับเอกราชของอาณานิคมและรัฐในอารักขาของชาติตะวันตกในทวีปเอเชียและแอฟริกาหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง การบรรลุการให้เอกราชเป็นผลมาจากการได้รับเอกราช การผสมผสานเข้ากับอำนาจการบริหารหรือรัฐอื่น หรือการสร้างสถานะ "การรวมตัวเสรี" คณะกรรมการพิเศษด้านการให้เอกราชของสหประชาชาติ ระบุว่า กระบวนการให้เอกราชนั้น ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากแนวคิดของการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง การให้เอกราชอาจรวมไปถึงการเจรจาอย่างสันติ และ/หรือการปฏิบัติอย่างรุนแรง และการต่อสู้ด้วยกำลังของประชากรพื้นเมือง การให้เอกราชอาจเป็นกิจการภายในหรืออาจเกี่ยวข้องกับการแทรกแซงจากอำนาจต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สันนิบาติชาติหรือสหประชาชาติ ก็ได้ ถึงแม้ว่าตัวอย่างของการให้เอกราชจะพบได้นับแต่สมัยโบราณเป็นต้นมา ในช่วงเวลาสมัยใหม่ มีช่วงเวลาการให้เอกราชที่เฉพาะเป็นจำนวนมาก อาทิ การล่มสลายของจักรวรรดิสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 19 การล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน และจักรวรรดิรัสเซียภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง การล่มสลายของจักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิเยอรมัน และจักรวรรดิอาณานิคมอิตาลี ในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง และการล่มสลายของสหภาพโซเวียตภายหลังกำแพงเบอร์ลินถูกพังทลาย ในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการให้เอกราช

ฝ้าย

การเก็บเกี่ยวฝ้ายในรัฐโอคลาโฮมา สหรัฐอเมริกา เมื่อราว พ.ศ. 2433 ฝ้าย เป็นพันธุ์ไม้สกุลกอสไซเพียมในวงศ์ชบา เป็นไม้ขนาดเล็ก ถิ่นเดิมอยู่ในแถบทวีปอเมริกาใต้ ต่อมามีการนำไปปลูกในทวีปแอฟริกา เอเชีย และที่ที่อยู่ในโซนร้อนทั่ว ๆ ไป ฝ้ายเป็นพืชที่ให้เส้นใยโดยเส้นใยของฝ้ายเกือบทั้งหมดเป็นเซลลูโลส คำว่า Cotton ซึ่งหมายถึงฝ้ายในภาษาอังกฤษมาจากคำภาษาอาหรับว่า (al) qutn قُطْن เปลือกหุ้มเมล็ดฝ้ายมีเพกทินซึ่งประกอบด้วยกรดกาแลกทูโรนิกและเมทิลเอสเทอร์เป็นองค์ประกอบ สามารถใช้เป็นตัวดูดซับตะกั่วในน้ำเสียได้ โดยถ้าล้างด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ก่อนใช้จะดูดซับได้มากขึ้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและฝ้าย

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและภาษาอังกฤษ

มอนทรีออล

มอนทรีออล (Montreal) หรือ มงเรอาล (Montréal) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตการปกครองของรัฐควิเบก และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศแคนาดา มอนทรีออลเคยเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดถึงในยุคทศวรรษ 1970 หลังจากนั้นเมืองโทรอนโตก็แซงหน้าไป เดิมเมืองนี้มีชื่อว่า วีล-มารี (Ville-Marie 'เมืองของมารี') ภาษาทางการของมอนทรีออลคือ ภาษาฝรั่งเศส จากข้อมูลในเอกสารทางการ มอนทรีออลยังเป็นเมืองใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ที่มีประชากรพูดภาษาฝรั่งเศสมากที่สุดในโลก รองจากปารีส ในปี 2007 นิตยสารฟอบส์จัดอันดับให้เมืองมอนทรีออลอยู่อันดับ 10 ของเมืองที่สะอาดที่สุดในโลก และในปี 2008 นิตยสารโมโนเคิลจัดอันดับให้เมืองมอนทรีออลอยู่ที่อันดับ 16 ใน 25 เมืองที่น่าอยู่ที่สุดในโลก.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมอนทรีออล

มาร์ก ฟิลลิปส์

มาร์ก ฟิลลิปส์ คู่สมรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมาร์ก ฟิลลิปส์

มาร์กาเรต แทตเชอร์

มาร์กาเรต ฮิลดา แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) หรือยศขุนนางอังกฤษคือ บารอเนสแทตเชอร์ (ชื่อเดิม มาร์กาเรต ฮิลดา โรเบิตส์; 13 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมาร์กาเรต แทตเชอร์

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมาเรียแห่งเท็ค

รอยัลไฮเนส

รอยัลไฮเนส (Royal Highness) หรือ รอยัลไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระราชาธิบดีหรือสมเด็จพระราชินีนาถ ฐานันดรศักดิ์รอยัลไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส" แต่สูงกว่า "แกรนด์ดิวคัลไฮเนส", "ไฮเนส" และ "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรอยัลไฮเนส

รัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐสภาสหราชอาณาจักร หรือ รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Parliament of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland หรือ Parliament of the United Kingdom) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร โดยมีประมุขเป็นพระมหากษัตริย์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษเป็นระบบสองสภา (Bicameralism) ซึ่งประกอบไปด้วย “สภาสูง” หรือ สภาขุนนาง (House of Lords) และ “สภาล่าง” หรือ สภาสามัญชน (House of Commons) พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบที่สามของรัฐสภา สภาทั้งสองสภาประชุมแยกกันในห้องประชุมรัฐสภาภายในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ตึกรัฐสภา” ที่นครเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอน ตามปกติแล้วรัฐมนตรีของรัฐบาลทั้งหมดรวมทั้งนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชน แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีที่เป็นสมาชิกของสภาขุนนาง ที่ประชุมรัฐสภา ณ พระราชวังเวสมินเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐควิเบก

วิเบก (Québec, Quebec) หรือ เกแบ็ก (Québec) เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดาอยู่ทางตะวันออกของประเทศ และเป็นรัฐเดียวที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการในระดับรัฐ แต่ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทน รัฐควิเบกมีเมืองหลวงในชื่อเดียวกันคือควิเบก และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือมอนทรีออล.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐควิเบก

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐในอารักขา

ราชกุมารี

ราชกุมารี (The Princess Royal) เป็นพระอิสริยยศตามราชประเพณี (แต่ไม่เป็นแบบอัตโนมัติ) ซึ่งพระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ที่สุด พระอิสริยยศนี้ดำรงอยู่ตลอดพระชนม์ชีพของเจ้าหญิงพระองค์นั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถที่จะสถาปนาเจ้าหญิงพระองค์อื่นให้เป็นราชกุมารีอีกพระองค์ได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ไม่เคยทรงดำรงตำแหน่งราชกุมารีเลย) จวบจนถึงปัจจุบันนี้ได้มีราชกุมารีมาแล้วทั้งสิ้น 7 พระองค์ โดยพระองค์ล่าสุดคือ เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี พระอิสริยยศนี้เกิดขึ้นเมื่อสมเด็จพระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย (พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชกุมารี

ราชวงศ์วินด์เซอร์

ราชวงศ์วินด์เซอร์ เป็นราชวงศ์ที่เป็นสาขาของ ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เวททิน ของเยอรมนี เป็นราชวงศ์ปัจจุบันที่ปกครอง สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และ เครือจักรภพ ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 1 ปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์วินด์เซอร์

ราชอาณาจักรเครือจักรภพ

อาณาจักรในเครือจักรภพ (สีน้ำเงิน) และอาณาจักรในเครือจักรภพในอดีต (สีแดง) ราชอาณาจักรเครือจักรภพ คือรัฐเอกราชภายในเครือจักรภพแห่งประชาชาติที่มีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรทรงเป็นประมุขและใช้ลำดับการสืบราชบัลลังก์แบบเดียวกับรัฐสมาชิกอื่น ๆ ในเครือจักรภพ ซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 16 รัฐ รวมพื้นที่ทั้งหมด (ไม่นับรวมการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนแอนตาร์กติก) 18.8 ล้านตารางกิโลเมตร (7.3 ล้านตารางไมลส์) และมีประชากรรวมกันกว่า 137 ล้านคน โดยรัฐที่มีประชากรมากที่สุดหกลำดับแรก ได้แก่ สหราชอาณาจักร, แคนาดา, ออสเตรเลีย, ปาปัวนิวกินี, นิวซีแลนด์ และจาเมกา อาณาจักรในเครือจักรภพทั้งหมดล้วนแล้วแต่เคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรด้วยกันทั้งสิ้น ยกเว้นเพียงแต่สหราชอาณาจักรและปาปัวนิวกินี (ก่อนได้รับเอกราชเคยเป็นเพียงดินแดนสองแห่งที่ถูกปกครองโดยอาณานิคมออสเตรเลีย) พระราชบัญญัติเวสต์มินสเตอร์มีผลบังคับใช้ในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรเครือจักรภพ

ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชนาวี

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

รายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีประมุขมาแล้ว 12 พระองค์ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดทั่วโลก โดยไม่นับรวมทรัพย์สินอันเป็นของรัฐหรือรัฐบาล เรียงตามลำดับจำนวนพระราชทรั.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก

รายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน

ตารางต่อไปนี้เป็นรายนามของประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลทั่วโลกในปัจจุบัน แสดงประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีลักษณะต่างกันออกไปตามรูปแบบการปกครอง โดยส่วนใหญ่เป็นระบบรัฐสภา ในขณะที่บางรัฐนั้นประมุขจะอยู่ในระบบประธานาธิบดีหรือเผด็จการ และบางรัฐใช้การปกครองในระบบกึ่งประธานาธิบดี.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน

รายนามนายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย

ในประเทศออสเตรเลีย ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีทำหน้าที่เป็นหัวหน้ารัฐบาลของประเทศ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นประมุขแห่งรัฐ ทั้งนี้เครือรัฐออสเตรเลียมีนายกรัฐมนตรีคนแรกชื่อเอ็ดมันด์ บาร์ตัน เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายนามนายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและริชาร์ด นิกสัน

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและลอนดอน

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถแอนน์ แต่ด้วยพระนางโซฟีสิ้นพระชนม์ไปซะก่อน ราชบัลลังก์จึงต้องถูกสืบโดยทายาทของพระนางโซฟี ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อังกฤษ เป็นการจัดเรียงรายพระนามและนามของบุคคลในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่งสหราชอาณาจักร การสืบราชสมบัติบัญญัติโดย พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร

ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร

ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร คือ ลำดับความสูงต่ำแห่งฐานันดรของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ ไม่ว่าพระราชาหรือพระราชินีจะอยู่ในลำดับที่ 1 แห่งโปเจียมเสมอ ถ้าสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นพระเจ้าแผ่นดิน พระมเหสีของพระองค์ (คือสมเด็จพระราชินีในรัชกาล) จะเป็นลำดับที่ 1 แห่งฝ่ายใน ในทางตรงกันข้ามไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ สำหรับเจ้าชายพระราชสวามี ดังนั้นพระองค์จะทรงพระดำเนินในลำดับที่เท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับพระบรมราชโองการ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร

วอลลิส ซิมป์สัน

วอลลิส ดัชเชสแห่งวินด์เซอร์ เดิมคือ นางวอลลิส ซิมป์สัน (พระนามแรกประสูติ เบสซี วอลลิส วอร์ฟิลด์, ประสูติ 19 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวอลลิส ซิมป์สัน

วันชัยในทวีปยุโรป

วันชัยในทวีปยุโรป (Victory in Europe Day หรือ VE Day) หมายถึง วันที่ 7 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 คือ วันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรยอมรับการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของนาซีเยอรมนี ในวันที่ 30 เมษายน หลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฆ่าตัวตายที่หลุมหลบภัยในกรุงเบอร์ลิน ตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีตกเป็นของ คาร์ล เดอนิทซ์ เขาได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนในวันที่ 7 พฤษภาคม ในเมืองแรมส์ ฝรั่งเศส นอกจากนั้นวิลเฮล์ม ไคเทล ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเวร์มัคได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนต่อสหภาพโซเวียตในวันที่ 8 พฤษภาคม ในกรุงเบอร์ลิน เยอรมนี.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวันชัยในทวีปยุโรป

วิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8

ตราสารสละราชสมบัติ ซึ่งพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 ลงพระนามาภิไธย พร้อมด้วยพระอนุชาอีกสามพระองค์ลงพระนามเป็นพยาน วิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 (Edward VIII abdication crisis) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในจักรวรรดิอังกฤษเมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8

วิกฤตการณ์คลองสุเอซ

วิกฤตการณ์สุเอซ (The Suez Crisis หรือ Tripartite Aggression) เป็นวิกฤตการณ์ที่เกิดสงครามระหว่าง อียิปต์, อังกฤษ, ฝรั่งเศส และอิสราเอล มีมูลเหตุมาจากที่อียิปต์ต้องการให้คลองสุเอซ (ที่ขุดโดยเงินทุนของอียิปต์ กับฝรั่งเศส) กลายเป็นของประเทศ แต่คลองนี้มีความสำคัญต่ออังกฤษเพราะเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ มายังอาณานิคมทั้งหลายทั้ง อินเดีย, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และตะวันออกไกล ดังนั้นอังกฤษจึงซื้อหุ้นส่วนของอียิปต์ในคลองนี้ มาทำให้ตัวเองมีอำนาจเหนือคลองดังกล่าวและคานอำนาจกับฝรั่งเศส คลองนี้มีส่วนสำคัญในการรบทั้ง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวิกฤตการณ์คลองสุเอซ

วิทยาลัยอีตัน

วิทยาลัยอีตัน หรือ บางครั้งเรียกสั้นๆว่า อีตัน(Eton College) เป็นโรงเรียนมัธยมชื่อดังแห่งหนึ่งของอังกฤษ รับเฉพาะนักเรียนชาย อายุระหว่าง 13-18 ปี โรงเรียนมีนักเรียนทั้งหมด 1,300 คน นักเรียนทุกคนที่เรียนที่นี่ต้องเรียนในหลักสูตรโรงเรียนประจำ การเรียนที่นี้นอกเหนือจากการเรียนแล้ว ยังต้องเรียนรู้เรื่องมารยาท บุคลิกภาพ อีกด้วย เพื่อให้นักเรียนที่นี่จบมามีคุณภาพมากที่สุด ทำให้ อีตัน ขึ้นชื่อว่า "เป็นโรงเรียนที่ผู้ดีที่สุดในโลก" และยังเป็นโรงเรียนหลวงแห่งหนึ่งของอังกฤษที่ไม่ใช่ของรัฐบาลแต่เป็นเอกชน วิทยาลัยอีตันก่อตั้งโดย พระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ ในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวิทยาลัยอีตัน

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวินสตัน เชอร์ชิล

วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544

หตุวินาศกรรม 11 กันยายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544

สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ

ผู้แทนราษฎรสหรัฐ (United States House of Representatives) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาสหรัฐ คู่กับวุฒิสภา แต่ละรัฐในสหรัฐมีผู้แทนที่ได้รับเลือกจากจำนวนประชากรของแต่ละเขตที่แบ่งตามจำนวนประชากร จำนวนของผู้แทนราษฎรของแต่ละรัฐจึงขึ้นอยู่กับจำนวนประชากร รัฐแคลิฟอร์เนียที่มีประชากรมากที่สุดมีผู้แทนราษฎรทั้งหมด 53 คน สภาผู้แทนราษฎรสมัยปัจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 435 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละคนมีตำแหน่งสองปี ประธานสภาผู้แทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งของสมาชิก ระบบสภาคู่เป็นระบบที่ผู้ก่อตั้งสหรัฐ (Founding Fathers of the United States) สร้างขึ้นเพื่อให้มีสภาที่เป็นผู้แทนของประชาชนที่เป็นเสียงของประชาชนเพื่อให้เป็นการทำให้สมดุลกับวุฒิสภาที่เป็นผู้แทนของรัฐบาลจากแต่ละรัฐ สภาผู้แทนราษฎรมักจะเทียบได้กับสภาล่าง และวุฒิสภาเทียบได้กับสภาสูง แต่รัฐธรรมนูญของสหรัฐไม่ใช้คำดังกล่าว ทั้งสองสภามีหน้าที่ร่าง เสนอ พิจารณาและอนุมัติกฎหมาย จากการที่สมาชิกได้รับเลือกมาจากกลุ่มคนจำนวนน้อย (ราว 693,000 คนต่อคนใน ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ

สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

มัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) เป็นองค์กรที่มีอำนาจมากที่สุดและเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ เป็นเพียงองค์กรเดียวของสหประชาชาติที่ตัวแทนของแต่ละประเทศสมาชิกมีสิทธิและฐานะเท่าเทียมกัน สมัชชาใหญ่มีหน้าที่ตรวจสอบงบประมาณและการใช้จ่ายในโครงการของสหประชาชาติ แต่งตั้งสมาชิกไม่ถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง รับรายงานจากทั่วทุกมุมโลกเพื่ออภิปรายและให้ความเห็น ตลอดจนจัดตั้งองค์กรลูกต่างๆมากมายของสหประชาชาติ การประชุมสมัชชาใหญ่ครั้งแรกมีขึ้นในวันที่ 10 มกราคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2

มเด็จพระสันตะปาปา นักบุญจอห์น ปอลที่ 2 มีพระนามเดิมว่า การอล ยูแซฟ วอยตือวา (ในภาษาโปแลนด์) เกิดเมื่อ 18 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23

มเด็จพระสันตะปาปานักบุญจอห์นที่ 23 (John XXIII) มีพระนามเดิมว่าอันเจโล จูเซปเป รอนกัลลี (Angelo Giuseppe Roncalli) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

มเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 (Benedictus XVI, Benedict XVI) พระสันตะปาปากิตติคุณ อดีตประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นชาวเยอรมัน มีพระนามเดิมว่า โยเซฟ รัทซิงเงอร์ (Joseph Ratzinger) เกิดเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

สมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8

เจ้าชายเอดเวิร์ด ดยุกแห่งวินเซอร์ หรืออดีต สมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 (เอดเวิร์ด อัลเบิร์ต คริสเตียน จอร์จ แอนดรูว์ แพทริค เดวิด; 23 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรป

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักร

สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ

อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่ง (จากซ้ายไปขวา) โรซาลีนน์ คาร์เตอร์, ฮิลลารี คลินตัน, บาร์บารา บุช และลอรา บุช สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ (First Lady of the United States) เป็นตำแหน่งอย่างไม่เป็นทางการของผู้ดูแลทำเนียบขาว โดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว ตำแหน่งนี้จะเป็นของภรรยาของประธานาธิบดีสหรัฐคนปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในบางครั้งมีสตรีอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาของประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งนี้ ในกรณีที่ประธานาธิบดีนั้นยังไม่ได้แต่งงานหรือเป็นหม้าย ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ดำรงตำแหน่งจะเป็นญาติหรือเพื่อนผู้หญิงของประธานาธิบดี ปัจจุบันยังไม่มีประธานาธิบดีที่เป็นสตรี ดังนั้นจึงไม่มีคำเรียกสามีของประธานาธิบดีซึ่งจะเป็นผู้ดูแลทำเนียบขาว แต่ปัจจุบันมีสตรีที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแล้วหลายคน สามีของสตรีเหล่านี้จะถูกเรียกว่า สุภาพบุรุษหมายเลขหนึ่ง (First Gentlemen) สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งคนปัจจุบันคือเมลาเนีย ทรัมป์และมีอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งที่ยังมีชีวิตอยู่ 5 คน ได้แก่ โรซาลีนน์ คาร์เตอร์, บาร์บารา บุช, ฮิลลารี คลินตัน,ลอรา บุช และ มิเชล โอบาม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ

สีเงิน (มุทราศาสตร์)

“Argent” สีเงินทางซ้าย หรือ ว่าง ตราของเมือง Santiago do Cacém ที่แสดงความแตกต่างระหว่างสีขาวและสีเงิน สีเงิน (Argent) เป็นภาษามุทราศาสตร์ที่บรรยายลักษณะของผิวตรา (Tincture) ที่เป็นสีเงินหรือบางครั้งก็เรียกว่าสีขาว ที่อยู่ในกลุ่มผิวตราสีอ่อนที่เรียกว่า “โลหะ” ถ้าเป็นการแกะพิมพ์ “เงิน” ก็จะเป็นบริเวณที่ทิ้งว่างไม่มีลวดลาย หรืออาจจะจารึกด้วยอักษรย่อ “ar.” ของคำว่า “Argent” คำว่า “Argent” มาจากภาษาลาติน ว่า “argentum” ที่มาจากภาษากรีก “Αργυρος” ที่แปลว่า “เงิน” หรือ “โลหะสีขาว” ในการสร้างตราอาร์มในสมัยโบราณบริเวณที่ระบุว่าเป็นสีเงินอาจจะทำด้วยแผ่นเงิน แต่เมื่อเวลาผ่านไปเงินที่ใช้ก็มีปฏิกิริยากับอากาศและเปลี่ยนเป็นสีที่คร่ำลง ฉะนั้นบางครั้งจึงเป็นการยากที่จะตีความหมายของตราในสมัยโบราณที่มีส่วนที่เป็นสีดำว่าเป็นสีดำ (sable) หรือเป็นสีเงิน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสีเงิน (มุทราศาสตร์)

สงครามฟอล์กแลนด์

งครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (ภาษาอังกฤษ: Falklands War, ภาษาสเปน: Guerra de las Malvinas) เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2525 อาร์เจนตินาส่งทหารเข้ายึดหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะอันเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ซึ่งถือว่าเป็นการประกาศสงครามของอาร์เจนตินา ซึ่งเป็นประเทศกำลังพัฒนา ต่ออังกฤษประเทศมหาอำนาจในขณะนั้น โดยอาร์เจนตินาถือว่าหมู่เกาะฟอล์กแลนด์แท้จริงแล้วคือหมู่เกาะมัลบีนัสของตนที่ถูกอังกฤษยึดครองมากว่าศตวรรษ 6 เมษายน ปีเดียวกัน อังกฤษจัดตั้งคณะรัฐมนตรีสงคราม นำโดยมาร์กาเรต แทตเชอร์ และเมื่อการตัดสินใจมาถึง "เราจะไม่ยึดติดกับปัญหาต่างๆ" นางแทตเชอร์ประกาศ: "day-to-day oversight was to be provided by...

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสงครามฟอล์กแลนด์

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสงครามอ่าวเปอร์เซีย

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสงครามโลกครั้งที่สอง

สนธิสัญญาโรม

นธิสัญญาโรม มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สนธิสัญญาจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งนำไปสู่การก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในวันที่ 1 มกราคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสนธิสัญญาโรม

หมู่เกาะแชนเนล

หมู่เกาะแชนแนล หมู่เกาะแชนเนล (Channel Islands) เป็นหมู่เกาะบริติชในช่องแคบอังกฤษตั้งอยู่ระหว่างชายฝั่งทางใต้ของสหราชอาณาจักรและภาคเหนือของฝรั่งเศส มีประชากรทั้งหมดประมาณ 158,000 มีการท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมหลัก มีข้อมูลว่าหมู่เกาะแชนแนลไอส์แลนด์ เป็น 1 ใน 50 ประเทศที่องค์การเพื่อความโปร่งใสระหว่างประเทศกล่าวหาว่าเป็นสวรรค์ของนักเลี่ยงภาษี หมวดหมู่:นอร์ม็องดี หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะแชนเนล

หมู่เกาะโซโลมอน

หมู่เกาะโซโลมอน (Solomon Islands) เป็นประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศปาปัวนิวกินี และเป็นส่วนหนึ่งของเครือจักรภพ ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 990 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกัน 28,000 ตารางกิโลเมตร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะโซโลมอน

หลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก (ภาษาเยอรมัน: Luise Wilhelmine Friederike Caroline Auguste Julie von Hessen-Kassel; ภาษาเดนมาร์ก: Louise Wilhelmine Frederikke Caroline Auguste Julie) (7 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

อาร์ชบิชอปแห่งยอร์ก

อาร์ชบิชอปแห่งยอร์ก (Archbishop of York) เป็นตำแหน่งผู้ปกครองระดับสูงในคริสตจักรแห่งอังกฤษ ถือเป็นตำแหน่งสูงสุดรองจากอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี มีฐานะเป็นบิชอปประจำมุขมณฑลยอร์ก และอาร์ชบิชอปแห่งภาคยอร์กซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมภาคเหนือของประเทศอังกฤษและเกาะแมน อาร์ชบิชอปแห่งยอร์กถือเป็นสมาชิกสภาขุนนางโดยตำแหน่ง และเป็นไพรเมตแห่งอังกฤษ (ส่วนอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็น "ไพรเมตแห่งอังกฤษทั้งปวง") อาสนะประจำตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งยอร์กต้ังอยู่ภายในมหาวิหารยอร์กกลางนครยอร์ก อาร์ชบิชอปคนปัจจุบันคือ ศาสนาจารย์ ดร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอาร์ชบิชอปแห่งยอร์ก

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 43 (Archbishop of Canterbury) เป็นอัครมุขนายกและผู้นำหลักของคริสตจักรแห่งอังกฤษ เป็นประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลกและบิชอปประจำมุขมณฑลแคนเทอร์เบอรี อัครมุขนายกแห่งแคนเทอร์เบอรีคนปัจจุบันคือศาสนาจารย์จัสติน เวลบี (Justin Welby) เป็นอัครมุขนายกคนที่ 105 ซึ่งสืบตำแหน่งที่ตกทอดมากว่า 1400 ปีจากนักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีผู้ก่อตั้งคริสตจักรโรมันคาทอลิกในอังกฤษในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี

อิสลาห์ ฟิลลิปส์

อิสลาห์ เอลิซาเบธ ฟิลลิปส์ (Isla Elizabeth Phillips) เป็นพระนัดดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี และเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 อิสลาห์เป็นธิดาของปีเตอร์ ฟิลลิปส์กับออทูมน์ ฟิลลิปส์ บิดาของอิสลาห์เป็นโอรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ อิสลาห์เป็นพระราชปนัดดาคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 อิสลาห์มีพี่สาวอีกคนหนึ่งชื่อว่า ซาวันนาห์ ฟิลลิปส์ หมวดหมู่:ราชวงศ์วินด์เซอร์ หมวดหมู่:สมาชิกของราชวงศ์ที่ยังทรงพระเยาว์.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอิสลาห์ ฟิลลิปส์

ผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลีย

ผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลีย (Governor-General of the Commonwealth of Australia) เป็นผู้สำเร็จราชการในประเทศออสเตรเลียแทนพระมหากษัตริย์ออสเตรเลีย ซึ่งปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 Retrieved 1 January 2015.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลีย

ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม

วงสงครามเวียดนาม มูฮัมหมัด อาลีปฏิเสธการเกณฑ์ทหารในสหรัฐอเมริกาด้วยเหตุผลทางศาสนา ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม (conscientious objector) คือ ปัจเจกชนที่ใช้สิทธิ์คัดค้านการเกณฑ์ทหาร ด้วยเหตุแห่งเสรีภาพทางความคิด มโนธรรม หรือศาสนา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UNCHR) มีมติรับรองว่า การคัดค้านการเกณฑ์ทหารโดยอ้างมโนธรรมเป็นการใช้เสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนาโดยชอบ และเป็นไปตามสิทธิในกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และขยายความไปว่า ผู้ที่เป็นทหารอยู่อาจพัฒนาเป็นผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรมก็ได้ ทั้งยังเรียกร้องและย้ำเตือนให้รัฐที่มีการเกณฑ์ทหารให้จัดระบบคัดกรองผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรมอย่างเป็นธรรม และจัดให้มีการทำงานอื่นเพื่อสังคมแทนการฝึกทหารสำหรับบุคคลเหล่านี้ อนึ่ง UNCHR ยังสนับสนุนให้รัฐต่าง ๆ รับพิจารณาผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรมที่เกรงกลัวว่าจะถูกดำเนินคดีเป็นผู้ลี้ภัยตามอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพของผู้ลี้ภัย ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม

จอห์น เมเจอร์

ซอร์ จอห์น เมเจอร์ (Sir John Major)(29 มีนาคม พ.ศ. 2486 -) นักการเมืองชาวอังกฤษและนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรจากพรรคอนุรักษนิยม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์น เมเจอร์

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรวรรดิบริติช

จารกรรม

รกรรม (espionage หรือ spying) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน (spy) คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย จารชนนี้อย่างอื่นก็เรียก เช่น สายลับ, คนสอดแนม, อุปนิกขิต หรือ อุปนิกษิต เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้ โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจารกรรม

ธงพระอิสริยยศ

งพระอิสริยยศ หมายถึง ธงที่ใช้หมายพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และบรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ตามลำดับชั้นต่างๆ ใช้ในการเสด็จพระราชดำเนินหรือเสด็จในพิธีการต่างๆ อย่างเป็นทางการ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและธงพระอิสริยยศ

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและทวีปแอฟริกา

ทะเลแคริบเบียน

แผนทีภูมิภาคอเมริกากลางและทะเลแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนมองจากอวกาศ (ด้านบนซ้าย) ทะเลแคริบเบียน (Caribbean Sea, หรือ; Mar Caribe) เป็นทะเลเขตร้อนในซีกโลกตะวันตก ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเม็กซิโก ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแผ่นเปลือกโลกแคริบเบียน โดยทางทิศใต้จดทวีปอเมริกาใต้ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้จดประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง และทางทิศเหนือและทิศตะวันออกจดหมู่เกาะแอนทิลลีส ได้แก่ เกาะคิวบา เกาะฮิสปันโยลา เกาะจาเมกา และเกาะเปอร์โตริโกในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีสทางทิศเหนือ ส่วนหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (เช่น เกาะแองกวิลลา เกาะดอมินีกา เกาะเซนต์ลูเซีย) อยู่ทางทิศตะวันออก พื้นที่ทั้งหมดของทะเลแคริบเบียน หมู่เกาะต่าง ๆ ในทะเลนี้ และชายฝั่งที่ติดต่อกัน รวมเรียกกันในชื่อภูมิภาคแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนเป็นหนึ่งในทะเลที่ใหญ่ที่สุด มีเนื้อที่ประมาณ 2,754,000 ตารางกิโลเมตร (1,063,000 ตารางไมล์) จุดที่ลึกที่สุดของทะเลนี้คือ Cayman Trough อยู่ระหว่างคิวบากับจาเมกา ที่ความลึก 7,686 เมตร (25,220 ฟุต) ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ชายฝั่งแคริบเบียนมีอ่าวอยู่หลายแห่ง เช่น อ่าวเวเนซุเอลา อ่าวดาริเอน อ่าวโมสกิโตส และอ่าวฮอนดูรั.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและทะเลแคริบเบียน

ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ “รัชทายาท” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง (Heir apparent) คือทายาทผู้ (นอกจากมีเหตุการณ์อันคาดไม่ถึง) ที่ไม่สามารถมีผู้ใดมาแทนได้ในการรับตำแหน่งหรือมรดก เป็นคำที่ตรงกันข้ามกับคำว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” (heir presumptive) ผู้เป็นทายาทอยู่ในสายที่มีสิทธิแต่อาจจะมาแทนได้เมื่อใดก็ได้ กรณีที่หมายถึงทายาทตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลโดยเฉพาะในกรณีของพระมหากษัตริย์จะเรียกว่ารัชทายาท (heir to the throne) และใช้เป็นอุปลักษณ์ว่าผู้นั้นเป็นผู้ได้ผ่านพิธีในการยอมรับในตำแหน่งเช่นว่าอย่างเป็นทางการ (“anointed”) ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมืองหรือผู้นำทางธุรกิจ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ไม่ปรากฏบ่อยนักและถ้าใช้ในภาษาอังกฤษก็มักจะใช้ในรูป “Heir Apparent” สถาบันพระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่แล้วก็จะมีตำแหน่งเป็นทางการสำหรับรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเช่น “มกุฎราชกุมาร” หรือมีตำแหน่งที่มีชื่อเฉพาะเช่น “เจ้าชายแห่งออเรนจ์” (Prince of Orange) ในเนเธอร์แลนด์ “เจ้าชายแห่งเวลส์” ในสหราชอาณาจักร หรือ เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ในสเปน ดยุกแห่งบราบันต์ ใน เบลเยียม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง

ทายาทโดยสันนิษฐาน

้าฟ้าชายแอนดรูว์ ดยุคแห่งยอร์ค “รัชทายาทโดยสันนิษฐาน” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทโดยสันนิษฐาน (Heir presumptive) คือทายาทผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลแต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน ในกรณีที่เกี่ยวกับรัชทายาทของราชบัลลังก์ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” อาจจะเป็นพระราชธิดาในพระมหากษัตริย์ (ถ้าพระราชโอรสมีสิทธิเหนือกว่าพระราชธิดาและพระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรส) หรือสมาชิกผู้มีอาวุโสของสายที่มีสิทธิในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรสหรือธิดาตาม เมื่อทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงถือกำเนิด ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิคนแรกในราชบัลลังก์และผู้สืบเชื้อสายจากทายาทของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ก็จะมีสิทธิเหนือกว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์ (Order of succession) ที่กำหนดไว้.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและทายาทโดยสันนิษฐาน

ทำเนียบขาว

ทำเนียบขาว (White House) เป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการและสถานที่ทำงานหลักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1600 ถนนเพนซิลเวเนีย เขตตะวันตกเฉียงเหนือ วอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและทำเนียบขาว

ทิโมที ลอเรนซ์

ทิโมที ลอเรนซ์ พลเรือโททิโมที ลอเรนซ์ (Timothy Laurence) คู่สมรสคนที่สองในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี และอดีตนายทหารเรือเกษีณอายุราชการในกองทัพเรือสหราชอาณาจักร เขาเกิดเมื่อวันที่1 มีนาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและทิโมที ลอเรนซ์

ข้าวสาลี

้าวสาลี (Triticum spp.) Belderok, Bob & Hans Mesdag & Dingena A. Donner.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและข้าวสาลี

ข้าวหลามตัด (มุทราศาสตร์)

ตราทรงข้าวหลามตัดของซาราห์ดัชเชสแห่งยอร์ค ข้าวหลามตัด (Lozenge (heraldry)) ในมุทราศาสตร์ “ข้าวหลามตัด” เป็นองค์ประกอบหนึ่งในกลุ่มเครื่องหมายที่ปรากฏบนโล่ในตราอาร์ม ที่มีทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนที่คล้ายกับรูปข้าวหลามตัดที่พบบนไพ่ “ข้าวหลามตัด” ที่จะแคบกว่าด้านตั้ง แต่แตกต่างจากข้าวหลามตัดแคบ (Fusil) ที่เป็นทรงเดียวกันแต่แคบกว่าอย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบัติก็มักจะละเลยกัน “ข้าวหลามตัด” อาจจะแบ่งออกไปเป็น “ข้าวหลามตัดกลวง” (Mascle) ที่เป็นทรงข้าวหลามตัดและกลวงออกเป็นทรงข้าวหลามตัดเช่นกัน และอีกทรงหนึ่งที่หาดูได้ยากกว่าก็คือทรง “ข้าวหลามตัดรู” (Rustre) ซึ่งมีรูกลมอยู่ตรงกลาง ถ้าโล่ทั้งโล่เป็นลายข้าวหลามตัดก็จะได้รับการนิยามว่าเป็น “lozengy” (“ลายข้าวหลามตัด”) ถ้าเป็นข้าวหลามตัดกลวงทั้งโล่ก็จะเป็น “masculy” (“ลายข้าวหลามตัดกลวง”) หรือ ถ้าเป็นข้าวหลามตัดแคบทั้งโล่ก็จะเป็น “fusily” (“ลายข้าวหลามตัดแคบ”) ทรงข้าวหลามตัดมักจะเป็นที่สตรีใช้เป็นทรงตราอาร์มที่ใช้กันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี แทนที่จะใช้ทรงโล่อย่างเช่นตราอาร์มของบุรุษ ในอังกฤษและสกอตแลนด์ แต่ไม่ใช่ในแคนาดา ตราอาร์มของสตรีโสดและของแม่หม้ายจะเป็นทรงข้าวหลามตัดแทนที่จะเป็นโล่โดยไม่มีเครื่องยอดหรือหมวกเกราะ หรือบางครั้งก็จะใช้ทรงรูปไข่แทนที่ (Cartouche) แต่สตรีที่แต่งงานแล้วจะใช้ตราอาร์มที่เป็นโล่ นอกจากจะเป็นสตรีที่มีบรรดาศักดิ์ของตนเองผู้ใช้ตราอาร์มทรงข้าวหลามตัดแม้ว่าจะในระหว่างที่มีคู่สมรส โล่ของสตรีผู้มีสามี (และตราข้าวหลามตัดของแม่หม้าย) อาจจะรวมตราอาร์มเดิมของตนเองกับตราของสามีอาจจะโดยการ “รวมตรา” (Impalement) คือวางตราสองตราเคียงข้างกัน หรือเช่นที่ทำกันในอังกฤษโดยการ “escutcheon of pretence” คือ แสดงตราของสตรีเป็น “โล่ใน” (หรือทรงข้าวหลามตัดในสำหรับแม่หม้าย) เหนือโล่ที่ใหญ่กว่าของสามี ตามกฎที่อนุมัติโดยเจ้าหน้าที่สูงสุดทางมุทราศาสตร์ของอังกฤษเมื่อวันที่ 7 เมษายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและข้าวหลามตัด (มุทราศาสตร์)

ดยุกแห่งยอร์ก

กแห่งยอร์ก (Duke of York) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุก ที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ โดยมักจะพระราชทานให้กับพระราชโอรสพระองค์รอง โดยมีศักดิ์เทียบเท่ากับบรรดาศักดิ์ "ดยุกแห่งอัลบานี"ในระบบบรรดาศักดิ์ของสก็อตแลนด์ ดยุกแห่งยอร์กพระองค์แรกคือเจ้าชายเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก และพระองค์ปัจจุบันคือเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก ในประวัติศาสตร์อังกฤษได้มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ทั้งหมด 11 สมัย โดย 5 สมัยในฐานะ "ดยุกแห่งยอร์ก" ก่อนพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งยอร์ก

ดยุกแห่งแลงแคสเตอร์

นรี เจ้าชายแห่งเวลส์ บุคคลสุดท้ายที่ดำรงตำแหน่งนี้ก่อนที่จะรวมเข้ากับส่วนพระมหากษัตริย์ ภายหลังขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ ดยุกแห่งแลงคาสเตอร์ (Duke of Lancaster) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกที่ใช้ออกพระนามถึงสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระเจ้าแผ่นดินอังกฤษอย่างลำลอง และผู้ครอบครองดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์ โดยถือเป็นดัชชีที่แยกออกมาจากสำนักทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (Crown Property) ซึ่งมีส่วนในการสร้างรายได้ให้กับพระมหากษัตริย์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้มีการสถาปนาบรรดาศักดิ์ดยุกแห่งแลงคาสเตอร์ถึง 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่แรกเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งแลงแคสเตอร์

ดยุกแห่งเอดินบะระ

กแห่งเอดินบะระ (Duke of Edinburgh) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุกในบรรดาศักดิ์แห่งสหราชอาณาจักร (ตั้งตามชื่อเมืองเอดินบะระของสกอตแลนด์) โดยได้มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ทั้งสิ้น 4 สมัย โดยในสมัยปัจจุบันผู้ดำรงตำแหน่งนี้คือเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในอนาคตบรรดาศักดิ์นี้จะเป็นของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ถ้าเจ้าชายชาลส์ยังไม่ได้สืบทอดราชบัลลังก์ ถ้าทรงสืบราชบัลลังก์เรียบร้อยแล้ว ตำแหน่งจะเป็นของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็ก.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งเอดินบะระ

ดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์

ตราประจำราชวงศ์แลงคาสเตอร์ ดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์ (Duchy of Lancaster) เป็นหนึ่งในสองราชดัชชีในอังกฤษ อีกราชอาณาจักรคือดัชชีแห่งคอร์นวอลล์และมีฐานะเป็นอาณาจักรที่เป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ แม้ว่าจะมีชื่อว่าเป็น “ดัชชี” แต่อันที่จริงแล้วก็คือ “อสังหาริมทรัพย์” (property company) แต่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (United Kingdom corporation tax) ในปัจจุบันดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,200 เอเคอร์ (18,700 เฮ็คตาร์) ที่รวมทั้งบริเวณชุมชนสำคัญ, สิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์, และที่ดินทางเกษตรกรรมในหลายบริเวณในอังกฤษและส่วนใหญ่ในแลงคาสเชอร์ ในปีงบประมาณ..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์

ดิออบเซิร์ฟเวอร์

ออบเซิร์ฟเวอร์ (The Observer) เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับวันอาทิตย์ฉบับแรกของสหราชอาณาจักร มีแนวคิดทางการเมืองฝ่ายขวาเล็กน้อยจากหนังสือพิมพ์ เดอะ การ์เดียน (The Guardian) ในเครือเดียวกัน และยึดแนวเสรีนิยม / สังคมประชาธิปไตยในเกือบทุกประเด็นปัญห.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดิออบเซิร์ฟเวอร์

ดิอินดีเพ็นเดนต์

อินดีเพ็นเดนต์ (The Independent) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1986 โดยIndependent News & Media ฉบับวันราชการเรียกกันสั้นๆ ว่า “อินดี้” และฉบับวันอาทิตย์เรียกกันสั้นๆ ว่า “ซันดี้” “ดิอินดีเพ็นเดนต์” เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับล่าที่สุดฉบับหนึ่งในสหราชอาณาจักร ในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดิอินดีเพ็นเดนต์

คริสตจักรแห่งอังกฤษ

ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคริสตจักรแห่งอังกฤษ

คลองสุเอซ

ลองสุเอซ (Suez Canal) เป็นคลองที่มนุษย์สร้างขึ้นในประเทศอียิปต์ ระหว่าง Port Said (Būr Sa'īd) ฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเมืองสุเอซ (Suez) บนฝั่งทะเลแดง มีความยาว 183 กิโลเมตร คลองสุเอซเชื่อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเข้ากับทะเลแดง ผ่านช่องแคบสุเอซ ในอียิปต์ตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทาง 101 ไมล์ เดิมทีมันถูกขุดขึ้นด้วยมือ ปัจจุบัน สามารถรองรับเรือยาว 500 ม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคลองสุเอซ

คอนราด อเดเนาร์

อนราด อเดนาวร์ (5 มกราคม พ.ศ. 2419 - 19 เมษายน พ.ศ. 2510) มีชื่อเต็มว่า คอนราด แฮร์มันน์ โยเซฟ อเดนาวร์ (Konrad Hermann Josef Adenauer) เป็นรัฐบุรุษชาวเยอรมัน อัครมหาเสนาบดีหรือนายกรัฐมนตรีแห่งเยอรมนี คนแรกของเยอรมนีตะวันตก (First Chancellor) ผู้สร้างชาติเยอรมนีตะวันตกภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง พรรคการเมืองที่มีชื่อว่า “พรรคสหภาพคริสเตียน - เดโมแครต” (CDU) อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีที่อายุยืนที่สุดในโลกอีกด้ว.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคอนราด อเดเนาร์

คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล

มิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล หรือพระนามเดิม คามิลลา โรสแมรี หรือที่รู้จักกันในพระนาม คามิลลา พาร์กเกอร์ โบลส์ (Camilla, Duchess of Cornwall; ประสูติเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล

งานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษ

มเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 กับ M. de St Antoine” โดย แอนโทนี แวน ไดค์, (ค.ศ. 1633) งานสะสมศิลปะหลวง หรือ งานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษ (Royal Collection) คืองานสะสมศิลปะที่เป็นของพระราชวงศ์อังกฤษ แต่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรที่รักษาเพื่อผู้สืบราชบัลลังก์และเพื่อชาติ งานสะสมประกอบด้วยจิตรกรรมกว่า 7,000 ชิ้น, จิตรกรรมสีน้ำ และ ภาพวาดเส้น 40,000 ชิ้น และงานพิมพ์ของศิลปินชั้นครู (old master print) อีกประมาณ 150,000 และรวมทั้งพรมทอแขวนผนัง, เฟอร์นิเจอร์, เครื่องกระเบื้อง, หนังสือ และงานศิลปะอื่นๆ งานเหล่านี้เก็บสะสมไว้ตามสถานที่ต่างหลายแห่งที่รวมทั้งที่พระราชวังแฮมพ์ตันคอร์ท และ พระราชวังวินด์เซอร์ ซึ่งเปิดให้ประชาชนเข้าชมได้ และ หอศิลป์สมเด็จพระราชินี (Queen's Gallery) ภายในพระราชวังบัคคิงแฮมในลอนดอน นอกจากนั้นก็มีที่There is also a หอศิลป์สมเด็จพระราชินี, เอดินบะระห์ติดกับพระราชวังโฮลีรูด ราคาของงานสะสมทั้งหมดประมาณกันว่ามีมูลค่ากว่าหมื่นล้านปอน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและงานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษ

ตราแผ่นดินของสกอตแลนด์

ตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ มีกำเนิดในศตวรรษที่15 คือ รูปสิงโตโบราณแห่งสกอต มีลำตัวสีแดง ล้อมรอบด้วยลวดลายกรอบแบบสกอตขอบสีแดง บนพื้นโล่สีเหลือง ส่วนธงประจำราชวงศ์ของสกอตแลนด์ เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นเหลือง มีตราสิงโตโบราณแห่งสกอต มีลำตัวสีแดง อยู่ตรงกลางที่ผืนธง ล้อมรอบด้วยลวดลายกรอบแบบสกอตขอบสีแดง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของสกอตแลนด์

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร (Royal coat of arms of the United Kingdom) เป็นตราอาร์มของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรที่ในปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ตรานี้ใช้โดยสมเด็จพระราชินีนาถในโอกาสทางราชการในฐานะพระมหากษัตรีย์แห่งสหราชอาณาจักร และ รู้จักอย่างเป็นทางการว่า “ตราอาร์มแห่งราชอาณาจักร” (Arms of Dominion) ตราอาร์มที่แปลงจากตรานี้ใช้โดยสมาชิกอื่นๆ ในพระราชวงศ์อังกฤษ และ โดยรัฐบาลบริเตนในกิจการที่เกี่ยวกับการบริหารและการปกครองประเทศ ในสกอตแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถทรงมีตราที่แปลงจากตรานี้ ซึ่งเป็นตราเดียวกับที่ใช้โดยรัฐบาลสกอตแลนด์ (Scotland Office) โล่ในตราแบ่งสี่ ในช่องที่หนึ่งหรือช่องบนซ้าย และช่องที่สี่หรือล่างขวาเป็นตราสิงห์สามตัวที่เป็นสัญลักษณ์ของอังกฤษ ในช่องที่สองหรือบนขวาเป็นสิงห์ยืนในกรอบล้อมด้วยสัญลักษณ์ดอกลิลลี ที่เป็นสัญลักษณ์ของสกอตแลนด์ และในช่องที่สามหรือช่องล่างซ้ายเป็นฮาร์พเกลลิค (Clàrsach) ที่เป็นสัญลักษณ์ของไอร์แลนด์เหนือ (การบรรยายเป็นไปตามหลักการให้คำนิยามของตรา) เครื่องยอด (crest) เป็นสิงห์ยืนหันหน้าหน้าสวมมงกุฎอิมพีเรียลสเตทบนหัวและยืนบนสัญลักษณ์ของมงกุฎเดียวกัน ประคองข้าง (Supporters) ด้านซ้ายเป็นสิงห์ยืนผงาดสวมมงกุฎ ประคองข้างด้านขวาเป็นยูนิคอร์นเงินแห่งสกอตแลนด์ ตามตำนานยูนิคอร์นที่เป็นอิสระเป็นสัตว์ที่อันตราย ฉะนั้นยูนิคอร์นที่ใช้ในอิสริยาภรณ์จึงเป็นยูนิคอร์นที่ล่ามโซ่ เช่นเดียวกับยูนิคอร์นสองตัวที่ประคองข้างตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ ตรามีคำขวัญของทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (Dieu et Mon Droit) “พระเจ้าและสิทธิแห่งข้า” และ คำขวัญของเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ “ความละอายจงมาสู่ผู้คิดร้าย” (Honi soit qui mal y pense) บนแถบอยู่รอบโล่หลังตร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของแคนาดา

ตราแผ่นดินของแคนาดา (มีชื่อเรียกอย่าไม่เป็นทางการว่า ตราอาร์มแห่งแคนาดา หรือมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ตราแผ่นดินของแคนาดา ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร) และ ใช้เป็นตราประจำพระประมุขสูงสุดแห่งแคนาดา ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของแคนาดา

ตำหนักซานดริงแฮม

ตำหนักซานดริงแฮม (ภาษาอังกฤษ: Sandringham House) เป็นคฤหาสน์ชนบทตั้งอยู่ที่หมู่บ้านซานดริงแฮม, นอร์โฟล์คในสหราชอาณาจักร เป็นตำหนักที่เป็นสมบัติส่วนพระองค์ของพระราชวงศ์อังกฤษ บริเวณที่ตั้งของตำหนักมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยเอลิซาเบธ ในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตำหนักซานดริงแฮม

ซารา ฟิลลิปส์

ซารา ฟิลลิปส์ (สกุลเดิม: Phillips; เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) พระธิดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี กับกัปตันมาร์ก ฟิลิปส์ รัชทายาทลำดับที่ 11 ของอังกฤษ ราชวงศ์วินด์เซอร์ สหราชอาณาจักร และเครือจักรภพ มีพี่ชายคือ ปีเตอร์ ฟิลลิปส์ ซารา ฟิลลิปส์สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ และได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 3 ของบรรดาราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก ของเว็บไซต์ฟอร์บส์ดอตคอม ต่อจากเจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวลส์ และเจ้าชายเฮนรีแห่งเวลส์ ซึ่งเป็นพระประยูรญาติร่วมราชวง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซารา ฟิลลิปส์

ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก

ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก หรือเดิมชื่อ ซาราห์ มากาเร็ต เฟอร์กูสัน ประสูติเมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2502 อดีตพระชายาในเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก เคยทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมาชิกแห่งพระบรมราชวงศ์แห่งสหราชอาณาจักร พระมารดาในเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก และเจ้าหญิงยูจีนีแห่งยอร์ก รัชทายาทสืบราชบัลลังก์ลำดับที่ 6 และ 7 หรือเป็นที่รู้จักกันดีในพระสมัญญา เฟอร์กี.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก

ซาวันนาห์ ฟิลลิปส์

ซาวันนาห์ แอนน์ แคทลีน ฟิลลิปส์ (Savannah Anne Kathleen Phillips) เป็นพระนัดดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี และเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ซาวันนาห์เป็นธิดาของปีเตอร์ ฟิลลิปส์กับออทูมน์ ฟิลลิปส์ บิดาของซาวันนาห์เป็นโอรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ ซาวันนาห์เป็นพระราชปนัดดาคนแรกของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ซาวันนาห์มีน้องสาวอีกคนหนึ่งชื่อว่า อิสลาห์ ฟิลลิปส์ หมวดหมู่:ราชวงศ์วินด์เซอร์ หมวดหมู่:สมาชิกของราชวงศ์ที่ยังทรงพระเยาว์.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซาวันนาห์ ฟิลลิปส์

ปฏิบัติการสะพานลอนดอน

ปฏิบัติการสะพานลอนดอน (Operation London Bridge) เป็นรหัสลับเรียกแผนดำเนินการต่าง ๆ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคตลง เดิมทีแผนนี้วางขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และปรับปรุงเรื่อยมาทุกปี ในการวางแผนมีความร่วมมือจากกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ เป็นต้นว่า หน่วยตำรวจนครบาล กองทัพบริติช ราชอุทยานลอนดอน ตลอดจน คริสตจักรอังกฤษ และสื่อมวลชน นอกจากนี้ การตัดสินใจสำคัญบางประการยังเป็นพระวินิจฉัยของสมเด็จพระราชินีนาถโดยตรง แต่บางเรื่องที่ต้องอาศัยการวินิจฉัยของผู้สืบบัลลังก์ต่อก็มี แผนนี้กำหนดให้ใช้ข้อความว่า "สะพานลอนดอนพังแล้ว" (London Bridge is down) เป็นรหัสสำหรับบอกคนวงใน เช่น นายกรัฐมนตรี และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ให้ทราบว่า สมเด็จพระราชินีนาถสวรรคตแล้ว จะได้เริ่มปฏิบัติตามแผน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปฏิบัติการสะพานลอนดอน

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community, EEC; บ้างเรียกสั้นเพียง ประชาคมยุโรป (European Community)) เป็นองค์การระหว่างประเทศจัดตั้งขึ้นด้วยทรรศนะที่จะทำให้เกิดบูรณาการทางเศรษฐกิจ (รวมทั้งตลาดร่วม) ในบรรดาหกสมาชิกดั้งเดิมหกประเทศ ได้แก่ เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ลักเซมเบิร์ก และเนเธอร์แลนด์ ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปจัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาโรม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประมุขแห่งรัฐ

ประเทศบาร์เบโดส

ร์เบโดส (Barbados) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก ทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียนเล็กน้อย ที่ 13 องศาเหนือและ 59 องศาตะวันตก ตั้งอยู่ค่อนข้างใกล้กับอเมริกาใต้โดยตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลาประมาณ 434.5 กิโลเมตร (270 ไมล์) เกาะที่อยู่ใกล้บาร์เบโดสมากที่สุดคือเซนต์ลูเซีย และเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซึ่งทั้ง 2 ประเทศตั้งอยู่ทางตะวันตก และเมื่อรวมกับบาร์เบโดสแล้ว เกาะเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) ในภูมิภาคแคริบเบียน บาร์เบโดสเป็นหนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานชีวิตและความสามารถในการอ่านออกเขียนได้สูงที่สุดในโลกที่กำลังพัฒนา และจาก UNDP (United Nations Development Programme) บาร์เบโดสเป็นประเทศที่พัฒนาเป็นอันดับ 4 ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา นอกจากนี้ บาร์เบโดสยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวด้ว.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศบาร์เบโดส

ประเทศบาฮามาส

ประเทศบาฮามาส (The Bahamas) หรือชื่อทางการว่า เครือรัฐบาฮามาส (Commonwealth of the Bahamas) เป็นประเทศตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อยู่ทางตอนเหนือของประเทศคิวบาและทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากคำนภาษาสเปนว่า "บาคามาร์" (baja mar) มีความหมายว่า "ทะเลน้ำตื้น" เศรษฐกิจของประเทศมากกว่าร้อยละ 60 ของจีดีพี มาจากธุรกิจการท่องเที่ยว ส่วนที่เหลือมาจากอุตสาหกรรมการเกษตร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศบาฮามาส

ประเทศฟีจี

ฟีจี (Fiji,; Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟีจี (Republic of Fiji; Matanitu ko Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी गणराज्य) ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศวานูวาตู ทางทิศตะวันตกของประเทศตองงา และทางทิศใต้ของประเทศตูวาลู.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศฟีจี

ประเทศกานา

กานา (Ghana) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกานา (Republic of Ghana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก พรมแดนด้านตะวันตกจรกประเทศโกตดิวัวร์ ด้านตะวันออกจรดประเทศบูร์กินาฟาโซ ด้านตะวันออกจรดประเทศโตโก โดยมีชายฝั่งทะเลด้านใต้ติดกับอ่าวกินี เดิมเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรมีชื่อเรียกว่า โกลด์โคสต์ (Gold Coast).

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศกานา

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศศรีลังกา

ประเทศอัฟกานิสถาน

อัฟกานิสถาน (Afghanistan; افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศอัฟกานิสถาน

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศอิรัก

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศอียิปต์

ประเทศจาเมกา

มกา (Jamaica) เป็นประเทศที่อยู่บนเกาะในภูมิภาคหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่ เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศจาเมกา

ประเทศตูวาลู

ตูวาลู (ตูวาลูและTuvalu) หรือเดิมเป็นที่รู้จักกันในชื่อ หมู่เกาะเอลลิซ (Ellice Islands) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชื่อประเทศแปลว่า "แปดยืนยง" (Eight Standing Together) ในภาษาตูวาลู นอกจากนครรัฐวาติกันแล้ว ตูวาลูเป็นประเทศอิสระที่มีประชากรน้อยที่สุดในโลก เนื่องจากมีความสูงต่ำ (สูงสุดคือ 5 เมตร) เกาะที่ประกอบเป็นประเทศนี้ อาจจะเกิดปัญหาถ้าระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ในช่วงหลายทศวรรษข้างหน้า ประชากรอาจจะอพยพไปที่ประเทศนิวซีแลนด์หรือเกาะนีอูเอซึ่งเป็นเกาะเล็ก ๆ ที่เป็นปกครองตนเองแต่ขึ้นกับนิวซีแลนด์ที่ไม่มีปัญหาจากการเพิ่มของระดับน้ำทะเล แต่มีประชากรน้อยลง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศตูวาลู

ประเทศปาปัวนิวกินี

ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea; Papua Niugini) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี (Independent State of Papua New Guinea; Independen Stet bilong Papua Niugini) เป็นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็นพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะนิวกินี (พื้นที่ทางตะวันตกเป็นของจังหวัดปาปัวของประเทศอินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบันปาปัวนิวกินีเป็นประเทศสังเกตการณ์ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน).

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศปาปัวนิวกินี

ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา

แอนติกาและบาร์บูดา (Antigua and Barbuda) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันออก บริเวณรอยต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะหลักสองเกาะ คือ เกาะแอนติกาและเกาะบาร์บูดา ทั้งสองเกาะตั้งอยู่ในตอนกลางของหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) ในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออก ประมาณ 17 องศาเหนือเส้นศูนย์สูตร แอนติกาและบาร์บูดายังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส โดยมีหมู่เกาะกัวเดอลุป ดอมินีกา มาร์ตีนิก เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ บาร์เบโดส เกรเนดา ตรินิแดดและโตเบโกอยู่ทางทิศใต้ เกาะมอนต์เซอร์รัตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ หมู่เกาะเซนต์คิตส์และเนวิสทางทิศตะวันตก และมีเกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี เกาะเซนต์มาร์ติน และมีเกาะแองกวิลลาอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศแอนติกาและบาร์บูดา

ประเทศโรดีเชีย

ประเทศโรดีเชีย (Rhodesia) ได้ชื่อตามเซซิล โรดส์ และตั้งแต่ปี 2513 เป็นต้นไปรู้จักกันทั่วไปว่า สาธารณรัฐโรดีเชีย เป็นรัฐที่ไม่ได้รับการรับรองในแอฟริกาใต้ตั้งแต่ปี 2508 ถึง 2522 ด้านอาณาเขตเทียบเท่ากับประเทศซิมบับเวสมัยใหม่ มีเมืองหลวง คือ ซอลส์บรี (ปัจจุบันคือ ฮาราเร) ถือเป็นรัฐสืบทอดโดยพฤตินัยของอดีตอาณานิคมเซาเทิร์นโรดีเชียของบริติช (ซึ่งได้รัฐบาลที่รับผิดชอบในปี 2466) ระหว่างความพยายามชะลอการเปลี่ยนผ่านทันทีสู่การปกครองฝ่ายข้างมากผิวดำ รัฐบาลผิวขาวที่เหนือกว่าของโรดีเชียออกคำประกาศอิสรภาพฝ่ายเดียว (UDI) จากสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2508 เดิมรัฐบาล UDI แสวงการรับรองเป็นราชอาณาจักรปกครองตนเองในเครือจักรภพแห่งชาติ แต่มีการกำหนดใหม่เป็นสาธารณรัฐในปี 2513 ให้หลังสงครามกองโจรอันป่าเถื่อนที่สู้รบกับองค์การชาตินิยมแอฟริกาที่คอมมิวนิสต์ให้ท้ายสององค์การ นายกรัฐมนตรีโรดีเชีย เอียน สมิธ ยอมให้ประชาธิปไตยสองเชื้อชาติในปี 2521 ทว่า ต่อมารัฐบาลชั่วคราวที่มีสมิธและเพื่อนร่วมงานสายกลางของเขา อะเบล มูโซเรวา (Abel Muzorewa) เป็นหัวหน้าไม่สามารถได้ความเห็นชอบจากนักวิจารณ์ต่างประเทศหรือหยุดการนองเลือดได้ ในเดือนธันวาคม 2522 มูโซเรวาเป็นนายกรัฐมนตรีแทนสมิธและทำความตกลงกับนักชาตินิยม ทำให้โรดีเชียเปลี่ยนกลับเป็นสถานภาพอาณานิคมชั่วคราวโดยรอการเลือกตั้งที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป สุดท้ายโรดีเชียได้รับการรับรองเอกราชในระดับนานาชาติในเดือนเมษายน 2523 พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็นสาธารณรัฐซิมบับเว หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปแอฟริกา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศโรดีเชีย

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศไอร์แลนด์

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศไทย

ประเทศเบลีซ

ลีซ (Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเบลีซ

ประเทศเกรเนดา

กรเนดา (Grenada) เป็นประเทศบนเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเกรเนดา

ประเทศเคนยา

นยา (อังกฤษและKenya) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเคนยา (Republic of Kenya; Jamhuri ya Kenya) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตจรดประเทศเอธิโอเปีย (ทางเหนือ) ประเทศโซมาเลีย (ทางตะวันออกเฉียงเหนือ) ประเทศแทนซาเนีย (ทางใต้) ประเทศยูกันดา (ทางตะวันตก) ประเทศเซาท์ซูดานและทะเลสาบวิกตอเรีย (ทางตะวันตกเฉียงเหนือ) และมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือ ไนโรบี.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเคนยา

ประเทศเซนต์ลูเชีย

ซนต์ลูเชีย (Saint Lucia) เป็นประเทศที่เป็นเกาะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เซนต์ลูเชียเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) โดยอยู่ทางทิศเหนือของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศบาร์เบโดส และทางทิศใต้ของเกาะมาร์ตินีกของฝรั่งเศส ประเทศเซนต์ลูเชียรู้จักในนาม "Helen of the West".

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์ลูเชีย

ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (Saint Vincent and the Grenadines) เป็นประเทศในภูมิภาคแคริบเบียน มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ มีทางออกสู่ทะเลและเป็นสมาชิกของเครือจักร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส

ซนต์คิตส์และเนวิส (Saint Kitts and Nevis) หรือชื่อทางการคือ สหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส (Federation of Saint Kitts and Nevis) ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) เป็นประเทศเกาะในทะเลแคริบเบียนและเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในซีกโลกตะวันตก เมืองหลวงและหน่วยงานรัฐบาลของสหพันธรัฐส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนเกาะเซนต์คิตส์ (หรือเซนต์คริสโตเฟอร์) ที่มีขนาดใหญ่กว่า ส่วนรัฐที่เล็กกว่าคือ เนวิส (Nevis) ตั้งอยู่ห่างจากเกาะเซนต์คิตส์ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 3 กิโลเมตร ตามประวัติศาสตร์แล้ว แองกวิลลาซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐด้วย เรียกว่า เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา แม้ว่าทั้งเกาะเซนต์คิตส์และเกาะเนวิสตั้งอยู่ภายในหมู่เกาะลีเวิร์ด แต่ทั้ง 2 เกาะก็ตั้งอยู่ใกล้กับเกาะอื่น ๆ อีกมากมายด้วย ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีเกาะซินต์เอิสตาซียึส เกาะซาบา เกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี และเกาะเซนต์มาร์ติน ทางตะวันออกเฉียงเหนือมีเกาะแอนติกาและบาร์บูดา และทางตะวันออกเฉียงใต้มีเกาะมอนต์เซอร์รัต ทั้งชื่อ Saint Christopher และ Saint Kitts ปรากฏอยู่ใน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส

ปราสาทคายร์นาร์วอน

ปราสาทคายร์นาร์วอน (Castell Caernarfon) หรือ ปราสาทคาร์นาร์วอน (Caernarfon Castle) เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ที่เมืองคายร์นาร์วอน ภาคกุยเน็ดด์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเวลส์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อกุยเน็ดด์ในปี ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปราสาทคายร์นาร์วอน

ปราสาทแบลมอรัล

ปราสาทแบลมอรัล (Balmoral Castle) เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ที่ในอะเบอร์ดีนเชอร์ใน สกอตแลนด์ในสหราชอาณาจักร ปราสาทแบลมอรัลรู้จักกันว่า “Royal Deeside” เจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ตพระสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรทรงซื้อปราสาท และยังใช้เป็นที่ประทับในฤดูร้อนของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรมาจนถึงทุกวันนี้ ปราสาทผ่านมือกันมาหลายชั่วคนและได้รับการขยายต่อเติมจนมีเนื้อที่กว่า 260 ตารางกิโลเมตร (65,000 เอเคอร์) ในปัจจุบันปราสาทยังเป็นสถานที่ที่ใช้ในการพำนักอาศัยที่มีผู้ทำงานเต็มเวลาทั้งหมด 50 คนและอีก 100 คนครึ่งเวล.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปราสาทแบลมอรัล

ปีเตอร์ ฟิลลิปส์

ปีเตอร์ ฟิลลิปส์ เป็นโอรสคนโตในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี กับนายมาร์ก ฟิลลิปส์ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปีเตอร์ ฟิลลิปส์

นอร์ฟอล์ก

ที่ตั้งของมณฑลนอร์ฟอล์ก นอร์ฟอล์ก หรือ นอร์เฟิก (Norfolk) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักร ที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของอังกฤษ โดยมีนอริชเป็นเมืองหลวง นอร์ฟอล์กมีเขตแดนติดกับลิงคอล์นเชอร์ทางตะวันตก เคมบริดจ์เชอร์ทางตะวันตกและทางตะวันตกเฉียงใต้ และซัฟฟอล์กทางด้านใต้ ทางเหนือและตะวันออกติดทะเลเหนือ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและนอร์ฟอล์ก

นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (Premier ministre français) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลและคณะรัฐมนตรีของประเทศฝรั่งเศส ส่วนประมุขแห่งรัฐของประเทศฝรั่งเศสคือประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส การตัดสินใจหรือกฤษฎีกาของนายกรัฐมนตรี เสมือนกับการตัดสินใจทั้งหมดของฝ่ายบริหาร โดยรวมถึงหน้าที่การสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างๆ เพื่อให้ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้ง โดยจะถูกสอดส่องดูแลในระบบสภาโดยศาลปกครองสูงสุด (Conseil d'État) ซึ่งบางครั้งนายกรัฐมนตรีพึงรับคำปรึกษาก่อนจะประกาศใช้กฤษฎีกา เป็นที่รู้กันว่ารัฐมนตรีแต่ละท่านต้องการปกป้องนโยบายและโครงการในกระทรวงของตน แต่ก็ยังติดอยู่ที่งบประมาณ ซึ่งนายกรัฐมนตรีนี้เองเป็นคนชี้ขาดในเรื่องเหล่านี้ แม้ว่าบางครั้งประธานาธิบดีจะมีนาจและอิทธิพลเหนือกว่าก็ตาม เนื่องจากนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ดูแลนโยบายของรัฐบาล เมื่อเกิดความผิดพลาดและล้มเหลวก็จะกลายเป็นผู้ที่ถูกประณามและตำหนิไปโดยปริยาย ผลที่ตามมาก็คือความนิยมที่มีสูงในช่วงแรกและลดฮวบลงขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หลายคนคิดว่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นการส่งเสริมความสำเร็จของประธานาธิบดี และยังเป็นที่โต้เถียงอย่างมากว่าเป็นตำแหน่งที่อันตรายเพราะความเป็นไปได้ของการลดความนิยม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Prime Minister of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลในสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินแห่งสหราชอาณาจักร การกำหนดนโยบายและการบริหารราชการแผ่นดินต่างๆถือเป็นความรับผิดชอบของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีต่อพระมหากษัตริย์, รัฐสภา, พรรคการเมือง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถือเป็นหนึ่งในสี่อำมาตย์นายก ซึ่งหมายถึงผู้บริหารสูงสุดทั้งสี่ของรัฐบาล นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันเป็น คนที่ 54 คือ เทเรซา เมย์ หัวหน้าพรรคอนุรักษนิยม ซึ่งได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นิโคไล เชาเชสกู

นิโคไล เชาเชสกู (อังกฤษ - Nicolae Ceausescu; โรมาเนีย: Nicolae Ceauşescu) (26 มกราคม พ.ศ. 2462 - 25 ธันวาคมพ.ศ. 2532) เขาเป็นชาวโรเมเนีย (ชาวโรมาเนีย) และนักการเมืองในสายคอมมิวนิสต์ เขาเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์โรเมเนียในช่วงปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและนิโคไล เชาเชสกู

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและนครนิวยอร์ก

แพต นิกสัน

เธลม่า แคทเทอรีน "แพต" รียาน นิกสัน (16 มีนาคม พ.ศ. 2455 -) เป็นภรรยาของประธานาธิบดีคนที่ 37 คือ ริชาร์ด นิกสัน หมวดหมู่:สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐแคลิฟอร์เนีย หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนิวเจอร์ซีย์ หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเนวาดา หมวดหมู่:บุคคลจากนครนิวยอร์ก.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแพต นิกสัน

แองกลิคัน

นิกายแองกลิคัน (Anglicanism) คือคำที่กล่าวถึงความเชื่อหรือการปฏิบัติของนิกายศาสนาคริสต์ที่มีประวัติเกี่ยวข้องกับ หรือ มีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับคริสตจักรแห่งอังกฤษ คำว่า “อังกลิคัน” มาจากคำว่า “ecclesia anglicana” ในภาษาละตินยุคกลางที่ใช้กันมาตั้งแต..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแองกลิคัน

แอนโทนี อีเดน

แอนโทนี อีเดน เอิร์ลแห่งเอวอง (Anthony Eden, 1st Earl of Avon) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษจากพรรคอนุรักษนิยม เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศสามสมัย รัฐมนตรีว่าการสงคราม รัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และนายกรัฐมนตรี เขาได้เข้าเป็นสมาชิกรัฐสภาตั้งแต่อายุยังน้อย โดยได้เป็นรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศขณะมีอายุเพียง 38 ปี ก่อนที่จะลาออกเพื่อเป็นการประท้วงนายกรัฐมนตรีเนวิล เชมเบอร์ลิน จากนโยบายโอนอ่อนผ่อนปรณต่อมุสโสลินี ผู้นำอิตาลีขณะนั้น ต่อมาเขาได้กลับมารับตำแหน่งนี้อีกครั้งในรัฐบาลของวินสตัน เชอร์ชิล และอยู่ในตำแหน่งนี้ตลอดช่วงเวลาของสงครามโลกครั้งที่สอง เขายังเป็นผู้นำอันดับสองในรัฐบาลของเชอร์ชิลยาวนานกว่า 15 ปี ก่อนที่เขาจะได้สืบต่อตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากเชอร์ชิลในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแอนโทนี อีเดน

แฮร์รี เอส. ทรูแมน

ันเอก แฮร์รี เอส ทรูแมน (อังกฤษ: Harry S Truman) เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1884 เสียชีวิตวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1972 เป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 34 (ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแฮร์รี เอส. ทรูแมน

แถบปิดแผล

ตัวอย่างแถบปิดแผลทั่วไป (ด้านหน้า) (ด้านหลัง) (เปิดออกแสดงถึง ส่วนสัมผัสแผล และส่วนยึดติด) แถบปิดแผล คือ ผลิตภัณฑ์ทำแผลสำเร็จรูป สำหรับปฐมพยาบาลบาดแผล มักเป็นแผลขนาดเล็กที่เลือดหยุดไหลแล้ว แถบปิดแผล ยี่ห้อแรกในโลกคือ แบน-เอด (Band-Aid) ผลิตโดย จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน ซึ่งเป็นชื่อทางการค้าที่ติดหู นิยมใช้เรียกแทนชื่อผลิตภัณฑ์ ในสหรัฐอเมริกา อินเดีย แคนาดา ออสเตรเลีย ขณะที่ยี่ห้อแรกในประเทศไทยคือ ปลาสเตอร์ หรือ ปลาสเตอร์ยา (Plaster) ซึ่งกลายเป็นชื่อทางการค้าที่ติดหู นิยมเรียกแทนชื่อผลิตภัณฑ์เช่นกัน รวมถึงในประเทศอื่น เช่น สหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ มาเลเซีย สิงคโปร์ แอฟริกาใต้ (ในประเทศอื่นยังรวมถึงชื่อยี่ห้อที่เรียกใกล้เคียง เช่น sticking plaster หรือ Elastoplast) ในหลายวัฒนธรรม รูปหรือคำที่เกี่ยวกับแถบปิดแผล ยังเป็นภาษาสัญลักษณ์สื่อความมหายถึง การได้รับบาดเจ็บ หรือการรั่วซึม เช่น "Band-aid solutions were used to fix the leak" ("สารละลายปิดแผลใช้เคลือบแก้ปัญหาการรั่วซึม").

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแถบปิดแผล

แดเนียล เคร็ก

แดเนียล เคร็ก (Daniel Craig) มีชื่อเต็มว่า แดเนียล รอตัน เคร็ก (Daniel Wroughton Craig) เกิดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) ที่เมืองเชสเตอร์ เทศมณฑลเชชเชอร์ ประเทศอังกฤษ มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นเจมส์ บอนด์ คนที่ 6.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแดเนียล เคร็ก

โรนัลด์ เรแกน

รนัลด์ วิลสัน เรแกน (Ronald Wilson Reagan; 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2454 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2547) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 (พ.ศ. 2524–2532) สังกัดพรรครีพับลิกัน นอกจากนี้เรแกนยังดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย คนที่ 33 (พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโรนัลด์ เรแกน

โอลิมปิกฤดูร้อน 1908

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 4 ประจำปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 1908

โอลิมปิกฤดูร้อน 1948

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 11 ประจำปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

โอลิมปิกฤดูร้อน 1956

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 16 ประจำปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 1956

โอลิมปิกฤดูร้อน 1976

บีเวอร์ ''Amik'' เป็นมาสคอตประจำโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 ประจำปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

โอลิมปิกฤดูร้อน 2012

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27 ประจำปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

โทนี แบลร์

แอนโธนี ชาลส์ ลินตัน "โทนี" แบลร์ (Anthony Charles Lynton "Tony" Blair) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคแรงงาน แบลร์สืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพรรคแรงงานหลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าพรรคคนก่อนคือ นายจอห์น สมิท (John Smith) ใน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโทนี แบลร์

โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์

ซฟี เคานท์เตสแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม โซฟี เฮเลน สกุลเดิม ไรส์-โจนส์ (The Countess of Wessex; ประสูติ 20 มกราคม พ.ศ. 2508) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระชายาในเจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ พระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระองค์ทรงปฏิบัติงานเป็นประชาสัมพันธ์จนกระทั่งปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์

ไอร์แลนด์เหนือ

อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เหนือ

ไอล์ออฟแมน

อล์ออฟแมน (Isle of Man,; Ellan Vannin) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเขตทะเลไอริช (Irish Sea) ในบริเวณศูนย์กลางของหมู่เกาะบริเตน (British Isles) ประมุขแห่งรัฐคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะเจ้าครองนครแห่งแมนน์ (ลอร์ดออฟแมนน์ - Lord of Mann) โดยมีข้าหลวงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ไอล์ออฟแมนนี้ไม่ได้เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ แต่กิจการด้านการต่างประเทศ การป้องกันดินแดน และการบริหารระบบธรรมาภิบาลระดับสูงสุด (ultimate good-governance) ของไอล์ออฟแมนอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลสหราชอาณาจักร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไอล์ออฟแมน

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

เกมโชว์

งร้อยชิงล้าน ชะชะช่า เกมโชว์ (Game Show) เป็นรูปแบบหนึ่งของรายการโทรทัศน์ นำเสนอโดยให้แขกรับเชิญซึ่งอาจจะเป็นดารานักแสดงหรือคนจากทางบ้าน เล่นเกมหรือเปิดป้ายเพื่อรับของรางวัลหรือเงินรางวัลต่างๆ บางรายการอาจจะเปิดโอกาสให้ผู้ชมทางบ้านมีส่วนร่วมด้วยการโทรศัพท์เข้ามาร่วมสนุกหรือส่งข้อความสั้นเข้ามาตอบคำถาม ปัจจุบันมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น ควิซโชว์ เรียลลิตี้โชว์ ฯลฯ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเกมโชว์

เมลเบิร์น

Melbourne's CBD has grown to straddle the Yarra River in three major precincts. The northern area is Melbourne's central business district (left) and Southbank (right) pictured. นครเมลเบิร์น เมลเบิร์น (Melbourne, ออกเสียงว่า /ˈmel.bən/ หรือ /ˈmæl.bən/) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศออสเตรเลีย รองจากนครซิดนีย์ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ มีประชากรประมาณ 3,806,092 คน (พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเมลเบิร์น

เมเปิล

มเปิล หรือ ก่วมลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ ดร.ก่องการดา ชยามฤต กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (Acer มาจากภาษาละตินแปลว่า: แหลม,คม หมายถึงปลายแหลมของใบ) คือสกุลของต้นไม้หรือพุ่มไม้ ซึ่งแบ่งได้หลายประเภทในวงศ์เดียวกัน มีประมาณ 125 สปีชีส์ ส่วนมากเป็นพืชในแถบเอเชีย แต่ก็มีบ้างในแถบยุโรป,ตอนเหนือของทวีปแอฟริกาและทวีปอเมริกาเหนือ มันถูกจัดเข้าสู่สกุลครั้งแรกโดย โจเชฟ ปีตตอง เดอ ตัวเนฟอร์ต (Joseph Pitton de Tournefort) นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเมเปิล

เลขาธิการสหประชาชาติ

ลขาธิการสหประชาชาติ เป็นหัวหน้าสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ โดยตามกฎบัตรสหประชาชาติ การแต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติจะต้องได้รับมติจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตามคำแนะนำของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่จะเป็นฝ่ายเสนอตัวบุคคลที่มารับตำแหน่งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งที่มีบทบาทสูงสุดในองค์การสหประชาชาติ เลขาธิการสหประชาชาติจะดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี โดยจะดำรงตำแหน่งคนละหนึ่งหรือสองสมัย และตามธรรมเนียมแล้ว จะต้องไม่เป็นบุคคลจากประเทศสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนี้ก็เป็นที่เข้าใจกันว่า บุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งคนต่อไปจะต้องมาจากประเทศนอกทวีปของเลขาธิการคนล่าสุด ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ อังตอนีอู กูแตรึช อดีตนายกรัฐมนตรีโปรตุเกส โดยเป็นเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนที่ 9.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเลขาธิการสหประชาชาติ

เลดีลูอีส วินด์เซอร์

ลดีลูอิส วินด์เซอร์ (Lady Louise Windsor พระนามเต็ม หลุยส์ อลิซ เอลิซาเบธ แมรี เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์วินด์เซอร์ โดยเป็นธิดาในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ และโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซ็กส์ และอยู่ในอันดับที่สิบสองของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ ภายหลังจากการประสูติของเจมส์ วินด์เซอร์ ไวเคาน์เซเวิร์น พระอนุชาเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเลดีลูอีส วินด์เซอร์

เวลามาตรฐานกรีนิช

วลามาตรฐานกรีนิช หรือ เวลามัชฌิมกรีนิช (Greenwich Mean Time) ชื่อย่อ จีเอ็มที (GMT) แต่เดิมเป็นคำใช้เรียกเวลาสุริยคติมัชฌิมที่หอดูดาวหลวงกรีนิช เมืองกรีนิช สหราชอาณาจักร ปัจจุบันคำนี้มักใช้เพื่อหมายถึงเวลาสากลเชิงพิกัด (ยูทีซี) ในฐานะเขตเวลา แม้ว่าหากถือโดยเคร่งครัดแล้ว ยูทีซีนั้นเป็นมาตรฐานเวลาที่วัดโดยนาฬิกาอะตอม ซึ่งจะเท่ากันเพียงโดยประมาณกับจีเอ็มทีในความหมายเดิม จีเอ็มทียังใช้หมายถึงเวลาสากล (ยูที) ซึ่งเป็นเวลาเชิงดาราศาสตร์ที่กำหนดขึ้นเพื่อทดแทนจีเอ็มทีโดยตรง เวลาเที่ยงวันของมาตรฐานกรีนิชนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกที่กรีนิชเสมอไป ทั้งนี้เนื่องจากการโคจรของโลกเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์มีอัตราเร็วไม่สม่ำเสมอและแกนโลกที่เอียง เวลาเที่ยงวันกรีนิชอาจต่างจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกถึง 16 นาที จึงจำเป็นต้องสมมุติดวงอาทิตย์มัชฌิม ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยจากการปรับการเคลื่อนที่ที่ไม่สม่ำเสมอของดวงอาทิตย์ดวงจริงขึ้นใช้คำนวณแทน ดวงอาทิตย์มัชฌิมนี้เองเป็นที่มาของคำว่า มัชฌิม ในคำว่าเวลามัชฌิมกรีนิช ก่อน ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเวลามาตรฐานกรีนิช

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

เอมิเรตส์สเตเดียม

อมิเรตส์สเตเดียม (Emirates Stadium) หรือ สนามกีฬาเอมิเรตส์ คือ สนามฟุตบอลที่มีที่ตั้งอยู่ที่แอชเบอร์ตันโกรฟในฮอลโลเวย์ (Holloway) ลอนดอนเหนือ และเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล ตั้งแต่เปิดใช้งานเมื่อเดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเอมิเรตส์สเตเดียม

เอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์

อิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์ (Earl of Wessex) เป็นบรรดาศักดิ์อังกฤษที่เคยพระราชทานให้สองครั้งในประวัติศาสตร์ของอังกฤษ ครั้งหนึ่งในช่วงก่อนการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน และอีกช่วงหนึ่งคือในสมัยที่เป็นสหราชอาณาจักรแล้ว โดยเวสเซ็กซ์ นั้นมาจาก "West Saxons" ในบริเวณภาคใต้และตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ ซึ่งครั้งหนึ่งนั้นเคยเป็นอาณาจักรของชาวแองโกล-แซกซันในช่วงเจ็ดอาณาจักร ซึ่งต่อมาได้มีการขยายอาณาเขตในช่วงศตวรรษถัดมาอันเป็นต้นกำเนิดของราชอาณาจักรอังกฤษในยุคต่อม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์

เจมส์ บอนด์

มส์ บอนด์ (James Bond) เป็นตัวละครสมมติ สร้างโดย เอียน เฟลมมิ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2496 ซึ่งปรากฏอยู่ในนวนิยาย 12 ตอนและรวมเรื่องสั้นอีก 2 เล่ม ต่อมาหลังจากเขาเสียชีวิตในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจมส์ บอนด์

เจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์น

มส์ วินด์เซอร์ ไวส์เคานท์เซเวิร์น (James Windsor, Viscount Severn ชื่อเต็ม เจมส์ อเล็กซานเดอร์ ฟิลิป ธีโอ; เกิด 17 ธันวาคม พ.ศ. 2550) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์วินด์เซอร์ โดยเป็นพระโอรสพระองค์ที่สองและพระองค์เดียวในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ กับโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซ็กส์ และอยู่ในอันดับที่สิบเอ็ดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์น

เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (HRH the Prince Charles, The Prince of Wales) พระนามเต็ม ชาลส์ ฟิลิป อาร์เธอร์ จอร์จ; พระราชสมภพ 14 พฤศจิกายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์

เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ

้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระนามเดิม เจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก; พระราชสมภพ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นชาวกรีก โดยกำเนิด มีตำแหน่งเจ้าชายแห่งกรีซและแห่งเดนมาร์ก ปัจจุบันมียศเป็นดยุกแห่งเอดินบะระ มีพระนามเดิมว่า เรือเอก ฟิลิป เมาท์แบตเตน เข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธ เมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ

เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ หรือ วิลเลียม อาร์เธอร์ ฟิลิป หลุยส์ (His Royal Highness Prince William Duke of Cambridge; William Arthur Philip Louis; ประสูติ: 21 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

เจ้าชายหลุยส์แห่งเคมบริดจ์

้าชายหลุยส์แห่งเคมบริดจ์ (Prince Louis of Cambridge; "หลุยส์ อาเธอร์ ชาลส์"; ประสูติ 23 เมษายน พ.ศ. 2561) เป็นพระโอรสพระองค์ที่สองในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ กับแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ และเป็นพระปนัดดาพระองค์ที่ 6 ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงอยู่ในลำดับที่ 5 ของการสืบสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายหลุยส์แห่งเคมบริดจ์

เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี

้าชาย ฟรันซ์ อัลแบร์ท เอากุสตุส คาร์ล เอ็มมานูเอล แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Franz Albert August Karl Emanuel von Sachsen-Coburg-Saalfeld) หรือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (Albert, Prince Consort) เป็นเจ้าชายเยอรมันซึ่งสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ทรงเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร จึงทำให้พระองค์ดำรงพระยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" อย่างเป็นทางการเพียงพระองค์เดียว ภายหลังจากการสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียใน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี

เจ้าชายอดอลฟัส ดยุกแห่งเคมบริดจ์

้าชายอดอลฟัส ดยุคแห่งแคมบริดจ์ (Prince Adolphus, Duke of Cambridge; 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2317 กรกฎาคม พ.ศ. 2393) ทรงสถาปนาเป็น ดยุคแห่งแคมบริดจ์เมื่อพระชนมายุ 27 พรรษา ทรงเข้าอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงออกัสตา แห่งเฮสส์-คาสเซิล เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอดอลฟัส ดยุกแห่งเคมบริดจ์

เจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์

้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์ (Prince George of Cambridge; ประสูติ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) หรือพระนามเต็มว่า จอร์จ อเล็กซานเดอร์ หลุยส์ (George Alexander Louis) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ กับแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ เป็นพระนัดดาของเจ้าชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ กับไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ผู้ล่วงลับ ทั้งเป็นพระปนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 กับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ จึงอยู่ในลำดับที่สามของการสืบสันตติวงศ์อังกฤษ ก่อนประสูติสื่อมวลชนพรรณนาพระโอรสองค์นี้ว่าเป็น "พระกุมารผู้ทรงมีชื่อเสียงที่สุดในโลก".

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์

เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแห่งเวลส์

เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก

รอยัลไฮเนส เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก (HRH The Prince Andrew, Duke of York) (แอนดรูว์ อัลเบิร์ต คริสเตียน เอ็ดเวิร์ด เมานต์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ ประสูติ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก

เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์

้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม เอ็ดเวิร์ด แอนโทนี ริชาร์ด หลุยส์ (HRH Prince Edward, Earl of Wessex; ประสูติ 10 มีนาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์

เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์

้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ (Prince Harry, Duke of Sussex) หรือ เจ้าชายเฮนรี ชาลส์ อัลเบิร์ต เดวิด (Prince Henry Charles Albert David; ประสูติ 15 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์

เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเคมบริดจ์

้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเคมบริดจ์ (Princess Charlotte of Cambridge; "ชาร์ลอตต์ เอลิซาเบธ ไดอานา" accessdate; ประสูติ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาพระองค์แรกในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ กับแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ และเป็นพระปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงอยู่ในลำดับที่สี่ของการสืบสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเคมบริดจ์

เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน

้าหญิงมาร์กาเรตโยงมาที่หน้านี้ สำหรับผู้ที่ใช้พระนามว่า "เจ้าหญิงมาร์กาเรต" อื่นๆ ดู เจ้าหญิงมาร์กาเรต (แก้ความกำกวม) เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน (มาร์กาเรต โรส; ประสูติ: 21 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน

เจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก

้าหญิงยูเจนีแห่งยอร์ก หรือ ยูเจนี วิกตอเรีย เฮเลนาในฐานะเชื้อพระวงศ์ที่ทรงมีฐานันดรศักดิ์ เจ้าหญิงยูเจนีจึงไม่ทรงมีราชสกุล แต่เมื่อมีการใช้ราชสกุล จะเป็น เมานท์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ (หรือชื่อทางดินแดนของพระชนก คือ "ยอร์ก") (Princess Eugenie of York; ประสูติ 23 มีนาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก

เจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์

้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ หรือพระนามแบบเต็ม แมรี อเดเลด วิลเฮลมินา เอลิซาเบธ (Princess Mary Adelaide of Cambridge; 27 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์

เจ้าหญิงแห่งเวลส์

้าหญิงแห่งเวลส์ (Princess of Wales) เป็นพระอิสริยยศกิตติมศักดิ์ (courtesy title) สำหรับพระชายาของเจ้าชายแห่งเวลส์ นับตั้งแต่เจ้าชายแห่งเวลส์ชาวอังกฤษพระองค์แรกเมื่อปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแห่งเวลส์

เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี

้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี (The Princess Anne, Princess Royal; แอนน์ เอลิซาเบธ อลิซ หลุยส์ ประสูติ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ และเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงดำรงพระอิสริยยศ ราชกุมารี เป็นพระองค์ที่เจ็ด และปัจจุบันทรงอยู่อันดับที่สิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อแรกประสูติ พระองค์ทรงอยู่อันดับที่สาม และขึ้นเป็นอันดับที่สองในการเสวยราชสมบัติของพระชนนี จนกระทั่งถึงการประสูติของเจ้าชายแอนดรูว์ ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก

้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก (Princess Beatrice of York หรือ เบียทริซ เอลิซาเบท แมรี (Beatrice Elizabeth Mary (ประสูติ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กกับ ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก อดีตพระชายาเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ เจ้าหญิงทรงอยู่ในอันดับที่แปดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ และทรงเป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกที่ประสูติในพระราชวงศ์นับตั้งแต่การประสูติของเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก

เดรสเดิน

รสเดิน (Dresden)) มาจากภาษาซอร์เบียโบราณว่า Drežďany แปลว่าชนเผ่าแห่งป่าริมแม่น้ำ ทั้งนี้เมืองเดรสเดินตั้งอยู่บนริมฝั่งแม่น้ำเอลเบอ เป็นเมืองหลวงของรัฐซัคเซิน แต่เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัฐรองจากไลพ์ซิจ นอกจากนี้ บริเวณเมืองเก่าย่านใจกลางเมืองเดรสเดินยังได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกด้านวัฒนธรรมอีกด้ว.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดรสเดิน

เดอะการ์เดียน

อะการ์เดียน (The Guardian) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันฝ่ายซ้ายกึ่งสายกลางแห่งชาติอังกฤษ ก่อตั้งใน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดอะการ์เดียน

เดอะมอลล์ (ถนน)

มุมมองของถนนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้สู่พระราชวังบักกิงแฮม (พ.ศ. 2554) เดอะมอลล์ (The Mall) คือถนนสายหนึ่งในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร โดยเริ่มตั้งแต่พระราชวังบักกิงแฮมทางทิศตะวันตกเรื่อยไปถึงประตู แอดมีรัลตีอาร์ช (Admiralty Arch) ก่อนที่จะไปบรรจบกับถนนไวต์ฮอลที่จัตุรัสทราฟัลการ์ทางทิศตะวันออก นอกจากนี้ยังตัดผ่านถนนสปริงการ์เดนส์อันเคยเป็นที่ตั้งของสำนักแรงงานกรุงลอนดอนและสภาเมืองลอนดอนอีกด้วย ถนนเดอะมอลล์ปิดการจราจรทุกวันอาทิตย์, วันหยุดราชการ และวันงานพิธีสำคัญต่างๆ ของประเทศ เดอะมอลล์ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นถนนประกอบพิธีของรัฐในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่นเดียวกับถนนหลักในเมืองสำคัญอื่นๆ เช่น กรุงเบอร์ลิน, กรุงเม็กซิโกซิตี, กรุงออสโล, กรุงปารีส, กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, กรุงเวียนนา และ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดอะมอลล์ (ถนน)

เดอะซัน

อะ ซัน (The Sun) เป็นวงร็อกแนวเฮฟวีเมทัล อยู่สังกัดค่ายอาร์เอส เบเกอรี่มิวสิค และเรียลแอนด์ชัวร์ ออกอัลบั้มในช่วงปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดอะซัน

เครือจักรภพแห่งประชาชาติ

รือจักรภพแห่งประชาชาติ (Commonwealth of Nations) ชื่อเดิมคือ เครือจักรภพบริเตน (British Commonwealth) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เครือจักรภพ เป็นองค์กรระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ประกอบด้วย 52 ชาติสมาชิกซึ่งส่วนมากเป็นอดีตอาณานิคมของจักรวรรดิบริเตน เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยยึดหลักฉันทามติของชาติสมาชิกจากที่ประชุม เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยสำนักเลขาธิการเครือจักรภพและองค์กรอิสระ ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาณานิคมต่างๆของสหราชอาณาจักรเริ่มได้รับเอกราชเป็นของตนเอง เครือจักรภพแห่งประชาชาติกำเนิดขึ้นเมื่อมีปฏิญญาลอนดอนใน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งประชาชาติ

เครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร

ัลลังก์พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดและเครื่องราชกกุธภัณฑ์ต่างๆ เครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร (Crown Jewels of the United Kingdom) หมายถึงกกุธภัณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและพิธีที่เป็นทางการใหญ่ๆ อื่น เครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรหมายถึงสิ่งต่อไปนี้: มงกุฎ, คทาที่มีกางเขนหรือนกพิราบ, ลูกโลกประดับกางเขน (Orb หรือ globus cruciger), ดาบ, แหวน, เดือย, ฉลองพระองค์โคโลเบียมซินโดนิสทูนิค (Colobium sindonis), ฉลองพระองค์ดาลเมติคทูนิค (dalmatic), กำไลอาร์มิลล์ (armill) และเสื้อคลุม และกกุธภัณฑ์อื่นๆ ที่ใช้ในพิธี.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร

เครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์

รื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ (The Most Noble Order of the Garter) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของสหราชอาณาจักร ซึ่งพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษสร้างขึ้นเมื่อปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์

เนตรนารี

นตรนารี (Girl Guide หรือ Girl Scout) เป็นกิจกรรมสำหรับเด็กหญิงอายุตั้งแต่ 10-17 ปี ที่ดำเนินงานควบคู่ไปกับการลูกเสือสำหรับเด็กชาย เกิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเนตรนารี

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ11 ธันวาคม

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ20 พฤศจิกายน

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ21 เมษายน

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ6 กุมภาพันธ์

ดูเพิ่มเติม

ดัชเชสแห่งเอดินบะระ

ประมุขแห่งรัฐปากีสถาน

ประมุขแห่งรัฐแคนาดา

ประมุขแห่งเครือจักรภพ

พระมหากษัตริย์ซีลอน

พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

พระมหากษัตริย์แอฟริกาใต้

พระราชธิดาในสมเด็จพระจักรพรรดิ

ราชวงศ์วินด์เซอร์

ราชินีนาถแห่งบริติชไอลส์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Elizabeth IIElizabeth II of the United Kingdomสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่สองสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธ ที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2สมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2สมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

ราชวงศ์วินด์เซอร์ราชอาณาจักรเครือจักรภพราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรราชนาวีรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบันรายนามนายกรัฐมนตรีออสเตรเลียริชาร์ด นิกสันลอนดอนลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักรลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักรวอลลิส ซิมป์สันวันชัยในทวีปยุโรปวิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8วิกฤตการณ์คลองสุเอซวิทยาลัยอีตันวินสตัน เชอร์ชิลวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8สหภาพยุโรปสหราชอาณาจักรสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐสีเงิน (มุทราศาสตร์)สงครามฟอล์กแลนด์สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามโลกครั้งที่สองสนธิสัญญาโรมหมู่เกาะแชนเนลหมู่เกาะโซโลมอนหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กอาร์ชบิชอปแห่งยอร์กอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีอิสลาห์ ฟิลลิปส์ผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลียผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรมจอห์น เมเจอร์จักรวรรดิบริติชจารกรรมธงพระอิสริยยศทวีปแอฟริกาทะเลแคริบเบียนทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงทายาทโดยสันนิษฐานทำเนียบขาวทิโมที ลอเรนซ์ข้าวสาลีข้าวหลามตัด (มุทราศาสตร์)ดยุกแห่งยอร์กดยุกแห่งแลงแคสเตอร์ดยุกแห่งเอดินบะระดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์ดิออบเซิร์ฟเวอร์ดิอินดีเพ็นเดนต์คริสตจักรแห่งอังกฤษคลองสุเอซคอนราด อเดเนาร์คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอลงานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักรตราแผ่นดินของแคนาดาตำหนักซานดริงแฮมซารา ฟิลลิปส์ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์กซาวันนาห์ ฟิลลิปส์ปฏิบัติการสะพานลอนดอนประชาคมเศรษฐกิจยุโรปประมุขแห่งรัฐประเทศบาร์เบโดสประเทศบาฮามาสประเทศฟีจีประเทศกานาประเทศศรีลังกาประเทศอัฟกานิสถานประเทศอิรักประเทศอียิปต์ประเทศจาเมกาประเทศตูวาลูประเทศปาปัวนิวกินีประเทศแอนติกาและบาร์บูดาประเทศโรดีเชียประเทศไอร์แลนด์ประเทศไทยประเทศเบลีซประเทศเกรเนดาประเทศเคนยาประเทศเซนต์ลูเชียประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสปราสาทคายร์นาร์วอนปราสาทแบลมอรัลปีเตอร์ ฟิลลิปส์นอร์ฟอล์กนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรนิโคไล เชาเชสกูนครนิวยอร์กแพต นิกสันแองกลิคันแอนโทนี อีเดนแฮร์รี เอส. ทรูแมนแถบปิดแผลแดเนียล เคร็กโรนัลด์ เรแกนโอลิมปิกฤดูร้อน 1908โอลิมปิกฤดูร้อน 1948โอลิมปิกฤดูร้อน 1956โอลิมปิกฤดูร้อน 1976โอลิมปิกฤดูร้อน 2012โทนี แบลร์โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์ไอร์แลนด์เหนือไอล์ออฟแมนไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์เกมโชว์เมลเบิร์นเมเปิลเลขาธิการสหประชาชาติเลดีลูอีส วินด์เซอร์เวลามาตรฐานกรีนิชเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เอมิเรตส์สเตเดียมเอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์เจมส์ บอนด์เจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์นเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายหลุยส์แห่งเคมบริดจ์เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีเจ้าชายอดอลฟัส ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเคมบริดจ์เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอนเจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์กเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์เจ้าหญิงแห่งเวลส์เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์กเดรสเดินเดอะการ์เดียนเดอะมอลล์ (ถนน)เดอะซันเครือจักรภพแห่งประชาชาติเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์เนตรนารี11 ธันวาคม20 พฤศจิกายน21 เมษายน6 กุมภาพันธ์