โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาล

ดัชนี สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาล

King Birendra Bir Bikram Shah สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ เป็นพระมหากษัตริย์แห่งพระมหากษัตริย์เนปาลพระองค์ที่ 11 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2488พ.ศ. 2515พ.ศ. 2544กาฐมาณฑุการสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาลราชวงศ์ศาหะราชอาณาจักรเนปาลรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาลสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาลสมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทระแห่งเนปาลสมเด็จพระเจ้ามเหนทระแห่งเนปาลเจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาลเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์1 มิถุนายน28 พฤศจิกายน31 มกราคม

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

กาฐมาณฑุ

right กาฐมาณฑุ (काठमाडौं, Kathmandu) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนปาล และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดด้วย เป็นพื้นที่เมืองและชานเมืองที่มีประชากรประมาณ 3.2 ล้านคนในพื้นที่ 3 เมืองในหุบเขากาฐมาณฑุในเนปาลกลาง บนแม่น้ำพาคมตี (Bagmati) อีก 2 เมืองคือปาฏัน (Patan) และภักตปุระ (Bhaktapur) กาฐมาณฑุตั้งที่ 27°43' เหนือ 85°22' ตะวันออก (27.71667, 85.36667) เมืองนี้ยังได้รับการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้เป็นครั้งแรกอีกด้วย และเมืองนี้เป็นเมืองหลวงเมืองเดียวในโลกที่มีตำรวจจราจรเป็นตำรวจหญิง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและกาฐมาณฑุ · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาล

มื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เกิดเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์แห่งเนปาลขึ้นภายในพระราชวังในกรุงกาฐมาณฑุ เป็นผลให้กษัตริย์พิเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ (Birendra Bir Bikram Shah Dev) และสมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ (Aiswarya) เสด็จสวรรคต พร้อมด้วยสมาชิกพระราชวงศ์อีก 7 พระองค์ ซึ่งล้วนแต่เป็นสมาชิกองค์สำคัญในราชวงศ์เนปาลทั้งสิ้น เหตุการณ์นี้ทำให้ชาวโลกตื่นตะลึง และยังความเศร้าโศกโกลาหลให้แก่ชาวเนปาลอย่างมหันต์ สำนักพระราชวังได้ประกาศสาเหตุของโศกนาฏกรรมว่า เกิดจากอุบัติเหตุพระแสงปืนลั่นโดยมกุฎราชกุมารดิเพนทรา (Dipentra) เป็นผู้ทำพระแสงปืนลั่นในขณะที่สมาชิกพระราชวงศ์กำลังร่วมเสวยพระกระยาหารค่ำ ก่อนที่องค์มกุฎราชกุมารจะทำพระแสงปืนลั่นถูกพระองค์เอง ในขณะที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสำนักพระราชวังและแหล่งข่าวหลายกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าโศกนาฏกรรมครั้งนี้เกิดจากการที่องค์มกุฏราชกุมาณทรงบันดาลโทสะในขณะทรงวิวาทกับพระราชมารดาเรื่องการที่องค์มกุฎราชกุมาร ทรงต้องการจะอภิเษกกับสตรีจากตระกูลรานา (Rana) และแหล่งข่าวอีกหลายกระแส ตั้งข้อสงสัยว่าองค์มกุฎราชกุมารทรงตกอยู่ในพระอาการมึนเมาจากน้ำจัณฑ์ (สุรา) และยาเสพติด หลังจากจัดงานพระบรมศพเรียบร้อย ในวันที่ 3 มิถุนายน ทางการเนปาลก็ได้อัญเชิญให้มกุฎราชกุมาร ดิเพนทรา ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา แต่ในวันเดียวกัน พระองค์ก็สวรรคตลงอีกพระองค์หนึ่ง ทำให้ทางการเนปาลต้องถวายการแต่งตั้งให้เจ้าชายชญาเนนทร (Gyanendra) พระอนุชาของกษัตริย์พิเรนทรา ซึ่งมิได้ประทับในกาฐมาณฑุขณะเกิดโศกนาฏกรรม การสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศของเนปาลเกิดความปั่นป่วนขึ้นเกือบจะในทันที ประชาชนจำนวนมากได้รวมตัวกันเป็นขบวนประท้วงไปตามถนนในกรุงกาฐมาณฑุ เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลสืบหาความจริงของโศกนาฏกรรมโดยด่วน ประชาชนที่กำลังโกรธแค้นได้ทำลายสาธารณสมบัติ และต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจจนมีผู้เสียชีวิตหลายราย ทำให้ทางการต้องประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศจนถึงวันที่ 8 มิถุนายน ในขณะเดียวกันหนังสือพิมพ์ 3 ฉบับถูกสั่งปิดข้อหาลงข่าวที่ไม่เหมาะสม ขณะที่ผู้นำกลุ่มลัทธิเหมา (Maoist) นายประจันดา (Prachanda เป็นชื่อย่อจาก Pushpa Kamal Dahal) ได้ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ฝ่ายซ้าย (leftist) ฝ่ายชาตินิยม (nationalist) และฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ (republican) ร่วมกันตั้งรัฐบาลเฉพาะการณ์ขึ้นในระหว่างที่ประเทศกำลังระส่ำระสาย นอกจากนี้ นายมาดาว์ กุมาร เนปาล (Madhav Kumar Nepal) หัวหน้าพรรคแนวร่วมคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (Nepal Communist Party-United Marxist and Leninist: NCP-UML) ซึ่งเป็นฝ่ายค้านของเนปาลได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 14 มิถุนายน เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจต่อการสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและการสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ศาหะ

ราชวงศ์ศาหะ (Shah dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักร กุรข่าจนกระทั่ง 1768 และเป็นราชวงศืที่ปกครองราชอาณาจักรเนปาลตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี 1768 จนกระทั่งสิ้นสุดระบอบราชาธิปไตยในปี 2008.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและราชวงศ์ศาหะ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนปาล

ราชอาณาจักรเนปาล (Kingdom of Nepal, नेपाल अधिराज्य) หรือราชอาณาจักรโครขา ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและราชอาณาจักรเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล

ระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียกโดยราชประเพณีว่า "ศรีปัญจมหาราชธิราช" (เนปาลี: श्री ५ महाराजधिराज, Śrī Pañca Mahārājdhirāj) ส่วนสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียก "ศรีปัญจพฑามหารานี" (เนปาลี: श्री ५ बडामहारानी, Śrī Pañca Badāmahārānī) ทั้งนี้ การปกครองประเทศเนปาลตามระบอบราชาธิปไตยนั้นได้ยกเลิกไปโดยมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลซึ่งให้เปลี่ยนแปลงเป็นระบอบสาธารณรัฐตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล

มเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ (ज्ञानेन्द्र वीर बिक्रम शाहदेव; Jñānendra Vīra Vikrama Śāhadeva; ชฺาเนนฺทฺร วีร พิกฺรม ศาหเทว) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีคยาเนนทรพีรพิกรมศาหเทว์ (Gyanendra Bir Bikram Shah Dev) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาลในราชวงศ์ศาห์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทระ ประสูติแต่เจ้าหญิงอินทระ มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทระแห่งเนปาล

right สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ (Dipendra Bir Bikram Shah Dev) หรือที่สื่อในไทยมักเขียนเป็น ดิเพนทรา (27 มิถุนายน พ.ศ. 2514 — 4 มิถุนายน พ.ศ. 2544) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ และสมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ พระองค์ได้ตกเป็นข่าวดังทั่วโลกในเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์เนปาล พ.ศ. 2544 ซึ่งทำให้พระราชชนกและพระราชชนนีของพระองค์เองเสด็จสวรรคต พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์อีก 7 พระองค์ สุดท้ายพระองค์ก็ทรงพยายามกระทำอัตวินิบาตกรรม จนทำให้พระองค์ทรงพระทุพพลภาพ มีพระอาการเข้าขั้นโคม่าต้องใช้เครื่องช่วยหายใจพยุงพระชนม์ไว้ แต่เนื่องด้วยพระราชชนกเสด็จสวรรคตก่อน พระองค์ซึ่งดำรงตำแหน่งมกุฎราชกุมารจึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ขณะที่พระอาการเพียบหนัก จนในท้ายที่สุดพระองค์เสด็จสวรรคตในอีก 3 วันต่อม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและสมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทระแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ามเหนทระแห่งเนปาล

มเด็จพระเจ้ามเหนทรพีรพิกรมศาหเทวะ เป็นพระมหากษัตริย์แห่งพระมหากษัตริย์เนปาลพระองค์ที่ 10 ครองราชย์ระหว่าง 14 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและสมเด็จพระเจ้ามเหนทระแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาล

้าหญิงศรุติราชยลักษมีเทวีศาหะ (श्रुती राज्यलक्ष्मी देवी शाह; 15 ตุลาคม พ.ศ. 2519 — 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544) พระราชธิดาองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ กับสมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ เป็นพระขนิษฐาในมกุฎราชกุมารทิเปนทรวีรพิกรมศาหเทวะ และเป็นพระพี่นางในเจ้าชายนิราชันวีรพิกรมศาหเทว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและเจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ (Knight and Dame of the Most Auspicious Order of the Rajamitrabhorn) เรียกโดยย่อว่า "ร.ม.." เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2505 โดยเหตุที่ว่าได้มีการผูกสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น จึงสมควรที่จะมีเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ประมุขแห่งรัฐต่างประเทศราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๗๙, ตอน ๕๒ ก, ๑๒ มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและ28 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

31 มกราคม

วันที่ 31 มกราคม เป็นวันที่ 31 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 334 วันในปีนั้น (335 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและ31 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะสมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรแห่งเนปาล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »