โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และเอื้อน กลิ่นสาลี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และเอื้อน กลิ่นสาลี

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) vs. เอื้อน กลิ่นสาลี

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฟื้น พลายภู่ ฉายา ชุตินฺธโร (20 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะใหญ่หนกลาง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง และอดีตเจ้าอาวาสวัดสามพร. ร.เอื้อน กลิ่นสาลี หรืออดีต พระพรหมดิลก ฉายา หาสธมฺโม ป..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และเอื้อน กลิ่นสาลี

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และเอื้อน กลิ่นสาลี มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระราชาคณะชั้นธรรมพระราชาคณะเจ้าคณะรองกรุงเทพมหานครมหาเถรสมาคมวัดสามพระยาอำเภอนครหลวงจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเจ้าคณะใหญ่หนกลางเปรียญธรรม 9 ประโยค

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

พระราชาคณะชั้นธรรมและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · พระราชาคณะชั้นธรรมและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะเจ้าคณะรอง

ระราชาคณะเจ้าคณะรองเป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์สูงกว่าพระราชาคณะชั้นธรรม และรองลงมาจากสมเด็จพระราชาคณะ เดิมจึงเรียกว่ารองสมเด็จพระราชาคณ.

พระราชาคณะเจ้าคณะรองและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · พระราชาคณะเจ้าคณะรองและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · กรุงเทพมหานครและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

มหาเถรสมาคม

มหาเถรสมาคม (accessdate) เป็นองค์กรสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2)..

มหาเถรสมาคมและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · มหาเถรสมาคมและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

วัดสามพระยา

วัดสามพระยา เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เดิมเป็นวัดราษฎร์ สถานที่ตั้งอยู่ที่ แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ชาวบ้านในละแวกนั้นบ้างก็เรียกชื่อวัดว่า วัดสัก หรือ วัดบางขุนพรหม สันนิษฐานว่า สร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ได้มีการก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะ มาโดยลำดับ ครั้นต่อมา ในรัชกาลที่ ๓ ได้มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ประกอบด้วย พระยาราชภักดี (สิงห์ทอง) พระยาเทพอรชุน (ทองปาน) และพระยาราชวรานุกูล (ทองคำ) รวมสามคนพี่น้อง ตามประวัติ บิดาท่านชื่อ มะทอเปิ้น อพยพมาจากรามัญประเทศ แต่ มารดาท่านไม่ปรากฏนาม พี่น้องทั้งสาม ได้จัดสร้างวัดนี้ขึ้นใหม่ แล้วเสร็จจึงได้ทูลเกล้าฯ ถวายเป็นวัดหลวง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มอบพระราชทานนามวัดว่า “วัดสามพระยา”.

วัดสามพระยาและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · วัดสามพระยาและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนครหลวง

นครหลวง เป็นอำเภอหนึ่งใน 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอ.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และอำเภอนครหลวง · อำเภอนครหลวงและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่หนกลาง

้าคณะใหญ่หนกลาง คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนกลาง ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตามที่กำหนดในกฎมหาเถรสมาคม มหาเถรสมาคมจึงตรา "กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2535) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์" กำหนดให้เจ้าคณะใหญ่หนกลางปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 1 ภาค 2 ภาค 3 ภาค 13 ภาค 14 และภาค 15.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และเจ้าคณะใหญ่หนกลาง · เจ้าคณะใหญ่หนกลางและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

เปรียญธรรม 9 ประโยค

ัดยศเปรียญธรรม 9 ประโยค เปรียญธรรม 9 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.9) เป็นระดับชั้นสูงสุด ของการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย แต่เดิมภาษาบาลีคือภาษามคธที่คนในแคว้นมคธใช้พูดกันเท่านั้น เพราะภาษาบาลีไม่มีอักษรใช้เขียนเป็นตัวหนังสือ พระพุทธเจ้าตรัสสอนธรรมด้วยภาษามคธเพราะแคว้นมคธเป็นแคว้นใหญ่ เหตุที่ภาษาบาลีไม่มีอักษรเขียน จึงต้องอาศัยอักษรจากภาษาอื่นเป็นตัวเขียน เช่น อักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรไทย อักษรโรมัน เป็นต้น ในปัจจุบันภาษาบาลีถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว เหมือนภาษาละติน ถึงแม้มีคนใช้พูดอยู่ก็น้อยมาก ในพระพุทธศาสนามีเพียงนิกายเถรวาทที่ใช้ภาษาบาลี เช่นในพระไตรปิฎก เป็นต้น ความหวังผู้ที่สอบได้ ป..๙ สามารถเทียบเท่าระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ ดร.ทางฝ่ายโลกได้ คือ เป็น ดร.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และเปรียญธรรม 9 ประโยค · เปรียญธรรม 9 ประโยคและเอื้อน กลิ่นสาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และเอื้อน กลิ่นสาลี

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) มี 46 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอื้อน กลิ่นสาลี มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 13.43% = 9 / (46 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)และเอื้อน กลิ่นสาลี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »