สารบัญ
57 ความสัมพันธ์: ชินโตพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชวังหลวงโตเกียวพระตำหนักอะกะซะกะกฎราชวงศ์การตั้งชื่อทวินามภาษาเกาหลีมีนวิทยายุคเฮเซราชวงศ์ญี่ปุ่นรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลวงศ์ปลาบู่สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสัตว์น้ำสำนักพระราชวังญี่ปุ่นอี พัง-จาจักรพรรดิจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดินีโคจุงจักรพรรดินีเทเมจักรพรรดิโชวะจักรพรรดิโคกะกุจักรพรรดิโคเมจักรพรรดิไทโชจักรพรรดิเมจิจักรวรรดิญี่ปุ่นคุโจ ฮิซะตะดะคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ซายาโกะ คุโรดะประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศไทยปลานิลโยชิโกะ นากายามะโยะชิกิ คุโระดะโคไตชิโตเกียวไดโจเท็นโนเกาหลีเอ็นเอชเคเจ้าชายฟูมิฮิโตะ เจ้าอากิชิโนะเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิเจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะเจ้าชายคุนิโยะชิ เจ้าคุนิเจ้าชายนารูฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่นเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่นเจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะเจ้าหญิงคาโกะแห่งอากิชิโนะ... ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »
- จักรพรรดิญี่ปุ่นผู้ทรงสละราชสมบัติ
- นักมีนวิทยาชาวญี่ปุ่น
- พระราชบุตรในจักรพรรดิโชวะ
- ยุคเฮเซ
- สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์วัฒนธรรม
ชินโต
ทะริอิ ที่ ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต ชินโต เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: 神, พินอิน: shén, เสิน) และ โต หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: 道, พินอิน: dào, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ และอิสึโมะ ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและชินโต
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชวังหลวงโตเกียว
ระราชวังหลวง (ปล. ห้ามแปลว่า พระราชวังอิมพีเรียล) ในกรุงโตเกียวนั้น ปัจจุบันเป็นพระราชวังหลวงที่ประทับของจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในแขวงชิโยะดะ กรุงโตเกียว ใกล้กับสถานีรถไฟโตเกียว ภายในพระราชวังประกอบด้วยพระราชมนเทียร, พระตำหนัก (宮殿 คีวเด็ง) ของพระราชวงศ์ พิพิธภัณฑ์ของสะสมในพระองค์, สำนักพระราชวัง, และพระราชอุทยานขนาดใหญ่ พระราชวังนี้แต่เดิมเป็นที่ตั้งของปราสาทเอะโดะ ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของโชกุนตระกูลโทะกุงะวะ แต่พระราชวังเดิมถูกระเบิดทำลายลงไปมากในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และต่อมาในปี ค.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและพระราชวังหลวงโตเกียว
พระตำหนักอะกะซะกะ
ระตำหนักอะกะซะกะ หรือ พระที่นั่งเนินแดง หรือที่รู้จักกันในชื่อ ทำเนียบรับรอง เป็นอดีตพระตำหนักในเขตพระราชฐานอะกะซะกะ ในแขวงมินะโตะ กรุงโตเกียว ปัจจุบันเป็นสถานที่รับรองการมาเยือนอย่างเป็นทางการของอาคันตุกะระดับสูงของรัฐบาลญี่ปุ่น และยังถือเป็นหนึ่งในอาคารที่ใหญ่ที่สุดที่ก่อสร้างขึ้นในยุคเมจิ น้ำพุและสวนหลังพระตำหนัก แรกเริ่มถูกสร้างขึ้นโดยรับสั่งของจักรพรรดิเมจิเพื่อเป็นที่ประทับของมกุฎราชกุมารในปี..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและพระตำหนักอะกะซะกะ
กฎราชวงศ์
กฎราชวง..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและกฎราชวงศ์
การตั้งชื่อทวินาม
ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม (Binomial nomenclature) เป็นระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ชื่อแต่ละชื่อในระบบนี้เรียกว่า ชื่อทวินาม (Binomial name) หรือ ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) คือชื่อที่ใช้เรียกแทนสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ ชื่อทวินามจะเป็นภาษาละติน ประกอบด้วยคำศัพท์ 2 คำ คือ สกุล และ สปีชีส์ ซึ่งขึ้นอยู่กับสิ่งมีชีวิตที่ต้องการระบุ โดยรายละเอียดปลีกย่อยอาจแตกต่างกันออกไปบ้าง.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและการตั้งชื่อทวินาม
ภาษาเกาหลี
ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและภาษาเกาหลี
มีนวิทยา
มีนวิทยา (Ichthyology) เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปลา ลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบภายในตัวปลา รวมถึงอนุกรมวิธานของปลา ออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ปลาในที่นี้ประกอบด้วยปลากระดูกแข็ง ปลากระดูกอ่อน ได้แก่ ฉลามและกระเบน และปลาไม่มีขากรรไกร โดยไม่ครอบคลุมไปถึงสัตว์น้ำจำพวกอื่น เช่น หมึก, กบ, กุ้ง, ปู, วาฬ หรือโลมา ซึ่งไม่จัดว่าเป็นปลา การศึกษาทางด้านมีนวิทยามีความสัมพันธ์อย่างมากกับสาขาวิชาชีววิทยาทางทะเล ชลธีวิทยา และสมุทรศาสตร์ และเรียกนักวิทยาศาสตร์ที่เชี่ยวชาญและศึกษาศาสตร์ทางด้านนี้ว่า "นักมีนวิทยา" มีนวิทยา ถือได้ว่าเป็นแขนงย่อยของสัตววิทยา โดยคำว่า "Ichthyology" ที่ใช้เป็นชื่อภาษาอังกฤษนั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Ichthys" (ἰχθύς) แปลว่า ปลา, "logy" หรือ "logos" (λόγος) แปลว่า วิชา หรือ เรื่องราว, "มีน" มาจากภาษาบาลีสันสกฤต แปลว่า ปลา และ "วิทยา" มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า ความรู้ โดยบุคคลแรกที่ถือได้ว่าศึกษาศาสตร์มีนวิทยาเป็นคนแรกของโลก คือ อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีกโบราณที่มีชื่อเสียง เพราะเป็นผู้ริเริ่มจำแนกสิ่งมีชีวิต บันทึกของอริสโตเติลได้กล่าวถึงโครงสร้าง อุปนิสัย การอพยพย้ายถิ่น ฤดูกาลสืบพันธุ์ และความรู้อื่น ๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับปลามากชนิด แต่ความจริงมนุษย์รู้จักปลามานานกว่า 50,000 ปีแล้ว จากหลักฐานที่มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้วาดภาพปลาไว้ที่ผนังถ้ำ เช่น รูปปลาบึกที่อุทยานแห่งชาติผาแต้ม เป็นต้น การศึกษาเกี่ยวกับปลาในระยะต่อมาโดยมากยังอ้างอิงผลงานของอริสโตเติล จะมีเพิ่มเติมก็เป็นเรื่องปลีกย่อย จนกระทั่งในศตวรรษที่ 18 การศึกษาเกี่ยวกับปลาตื่นตัวมากขึ้น มีการเขียนตำราวิชาทางวิชาการ ซึ่งใช้อ้างอิงมาจนถึงทุกวันนี้ มีการจำแนกหมวดหมู่ปลากระดูกอ่อน ปลากระดูกแข็ง ศึกษากายวิภาค สรีรวิทยา วิวัฒนาการของปลาจากซากดึกดำบรรพ์ มีนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาศาสตร์ด้านมีนวิทยาที่มีชื่อเสียงหลายคน อาทิ อัลเบิร์ต กึนเธอร์, จอร์จส์ คูเวียร์, อเล็กซานเดอร์ เอ็มมานูเอล อกาซซี, หลุยส์ อกาซซี (บุตรของอกาซซี) รวมถึง คาโรลัส ลินเนียส ผู้ให้กำเนิดหลักการอนุกรมวิธานที่ใช้มาถึงปัจจุบันด้วย สำหรับในประเทศไทย ศาสตร์แขนงนี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ ดร.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและมีนวิทยา
ยุคเฮเซ
รัชศกเฮเซ เป็นชื่อรัชศกปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น โดยรัชศกเฮเซเริ่มต้นเมื่อ ค.ศ. 1989 โดยเริ่มนับจากปีจักรพรรดิอะกิฮิโตะเริ่มครองราชย์ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระราชบิดาจักรพรรดิฮิโรฮิโต (สิ้นสุดรัชศกโชวะ) คำว่าเฮเซมีความหมายว่า "สงบสุขทุกสารทิศ" ณ วันที่ 1 มกราคม..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและยุคเฮเซ
ราชวงศ์ญี่ปุ่น
ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและราชวงศ์ญี่ปุ่น
รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล
นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล
วงศ์ปลาบู่
วงศ์ปลาบู่ (Goby) เป็นวงศ์ปลาที่มีจำนวนชนิดมากที่สุดในโลก พบอาศัยอยู่ทั้งในทะเลลึกกว่า 60 เมตร จนถึงลำธารบนภูเขาสูงกว่า 1,000 เมตร พบทั่วโลกในเขตร้อนและเขตอบอุ่นมากกว่า 1,950 ชนิด และพบในประเทศไทยมากกว่า 30 ชนิด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gobiidae (/โก-บิ-ดี้/) มีลักษณะแตกต่างจากปลาอื่น คือ มีลำตัวยาวทรงกระบอก มีส่วนหัวและจะงอยปากมน มีเส้นข้างลำตัวและแถวของเส้นประสาทอยู่บนหัวหลายแถว ครีบหลังแยกเป็น 2 ตอนชัดเจน ครีบหางกลมมน ครีบก้นยาว ครีบอกใหญ่ ครีบท้องส่วนมากจะแยกออกจากกัน แต่ก็มีในบางชนิดที่เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกล็ดมีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ เป็นปลากินเนื้อ กินแมลง, สัตว์น้ำขนาดเล็ก และปลาอื่นเป็นอาหาร วางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแล ไข่มีรูปร่างคล้ายผลองุ่นติดกับวัสุดเป็นแพ เมื่อฟักเป็นตัวจะปล่อยให้หากินเอง ส่วนมากมีขนาดเล็กยาวไม่เกิน 20 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่ในทะเลและน้ำกร่อย พบในน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ นิยมบริโภคด้วยการปรุงสด โดยเฉพาะเมนูอาหารจีน เป็นปลาที่มีรสชาติอร่อย ราคาแพง รวมทั้งมีสรรพคุณในการปรุงยา ในปลาชนิดที่มีขนาดเล็กและสีสันสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและวงศ์ปลาบู่
สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ
มเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ (20 ตุลาคม พ.ศ. 2477) มีพระนามเดิมว่า มิชิโกะ โชดะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ เข้าสู่พระราชวงศ์จากการเสกสมรสกับเจ้าชายอะกิฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น มิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารี ครั้นสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะสวรรคต มกุฎราชกุมารอะกิฮิโตะจึงสืบราชสมบัติเป็นจักรพรรดิ และมกุฎราชกุมารีมิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินี ตามลำดั.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
สัตว์น้ำ
ัตว์น้ำ (aquatic animal) หมายถึง สัตว์ที่อาศัยในน้ำหรือมีวงจรชีวิตส่วนหนึ่งอยู่ในน้ำหรืออาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ำท่วมถึง เช่น ปลา กุ้ง ปู แมงดาทะเล หอย เต่า ตะพาบน้ำ จระเข้ รวมทั้งไข่ของสัตว์น้ำนั้น สัตว์น้ำจำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม ปลิงทะเล ฟองน้ำ หินปะการัง กัลปังหา และสาหร่ายทะเล ทั้งนี้ รวมทั้งซากหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของสัตว์น้ำเหล่านั้น และหมายความรวมถึงพันธุ์ไม้น้ำ ตามที่ได้มีพระราชกฤษฎีการะบุชื่อ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและสัตว์น้ำ
สำนักพระราชวังญี่ปุ่น
ำนักพระราชวังหลวง (Imperial Household Agency) เป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐบาลญี่ปุ่น รับผิดชอบในกิจการของรัฐอันเกี่ยวข้องกับพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และยังเป็นผู้เก็บรักษาตราพระราชลัญจกร และ รัฐลัญจกร ทั้งนี้ ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง หน่วยงานนี้ใช้ชื่อว่า กระทรวงพระราชสำนัก (宮内省) หน่วยงานนี้แตกต่างไปจากหน่วยงานอื่นของรัฐ ตรงที่กิจการของหน่วยงานนี้จะไม่รายงานโดยตรงต่อนายกรัฐมนตรีในระดับคณะรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผลมาจากการตรากฎหมายให้หน่วยงานนี้เป็นหน่วยบริหารอิสร.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและสำนักพระราชวังญี่ปุ่น
อี พัง-จา
อี พัง-จา หรือ ริ มะซะโกะ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 30 เมษายน พ.ศ. 2532) มีพระนามเมื่อครั้งเป็นเจ้าในญี่ปุ่นว่า เจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ พระชายาในมกุฎราชกุมารอึยมินแห่งเกาหลี เดิมทั้งสองพระองค์มีสิทธิ์ในการสืบราชบัลลังก์เป็นจักรพรรดิและจักรพรรดินีแห่งเกาหลี หากแต่เกิดการล้มล้างการปกครองสนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี ในปี..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและอี พัง-จา
จักรพรรดิ
ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดิ
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดิญี่ปุ่น
จักรพรรดินีโคจุง
ักรพรรดินีโคจุง (6 มีนาคม พ.ศ. 2446 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543) พระนามเดิม เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ถือเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นDowner, Lesely.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดินีโคจุง
จักรพรรดินีเทเม
ักรพรรดินีเทเม (25 มิถุนายน พ.ศ. 2427 – 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) พระนามเดิม ซะดะโกะ คุโจ เป็นจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิไทโช และเป็นพระราชมารดาในจักรพรรดิโชวะ โดยจักรพรรดินีเทเมเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นองค์สุดท้ายที่มาจากตระกูลฟุจิวะระ (สายตระกูลคุโจ).
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดินีเทเม
จักรพรรดิโชวะ
มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดิโชวะ
จักรพรรดิโคกะกุ
ักรพรรดิโคกะกุ (Emperor Kōkaku) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 119 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ทรงครองราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศระหว่าง..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดิโคกะกุ
จักรพรรดิโคเม
ักรพรรดิโคเม เป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น องค์ที่ 121 ครองราชสมบัติตั้งแต่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1846 ถึง 30 มกราคม ค.ศ. 1867.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดิโคเม
จักรพรรดิไทโช
มเด็จพระจักรพรรดิโยะชิฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัยคือ จักรพรรดิไทโช (31 สิงหาคม พ.ศ. 2422 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2469) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 123 ทรงปกครองจักรวรรดิญี่ปุ่นในฐานะสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น และพระประมุขแห่งเกาหลี เป็นเวลา 14 ปี.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดิไทโช
จักรพรรดิเมจิ
มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรพรรดิเมจิ
จักรวรรดิญี่ปุ่น
ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและจักรวรรดิญี่ปุ่น
คุโจ ฮิซะตะดะ
ทาดะ คุโจว ฮิสะทาดะ (ญี่ปุ่น:九条 尚忠, Kujō Hisatada? พ.ศ. 2341- พ.ศ. 2414) บุตรชายของนิโจ ฮารุทากะ เป็นสมาชิกของตระกูลฟุจิวะระ และ ตระกูลคุโจว เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็นคัมปะกุในช่วงปี..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและคุโจ ฮิซะตะดะ
คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาการประมง และทรัพยากรทางน้ำแห่งแรกของประเทศไทย เน้นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้ง วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ บริหารศาสตร์ พัฒนศาสตร์ นิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย ปัจจุบัน เปิดสอนในสาขา การจัดการประมง ชีววิทยาประมง ผลิตภัณฑ์ประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และวิทยาศาสตร์การประมง ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ถึงระดับปริญญาเอก คณะประมงผ่านการประเมินด้วยคะแนนสูงสุด(5/5)ระดับดีมาก โดยสกว.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ซายาโกะ คุโรดะ
ซะยะโกะ คุโระดะ (18 เมษายน พ.ศ. 2512) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงซะยะโกะ เจ้าหญิงโนะริ เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะกับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ ภายหลังได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อเสกสมรสกับโยะชิกิ คุโระดะ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและซายาโกะ คุโรดะ
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและประเทศญี่ปุ่น
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและประเทศฝรั่งเศส
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและประเทศไทย
ปลานิล
ปลานิล เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oreochromis niloticus เป็นปลาเศรษฐกิจ แพร่ขยายพันธุ์ง่าย และมีรสชาติดี.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและปลานิล
โยชิโกะ นากายามะ
กะ นากายามะ (เกิด: 16 มกราคม พ.ศ. 2379 — ตาย: 5 ตุลาคม พ.ศ. 2450) เป็นนางสนองพระโอษฐ์ และพระสนมเอกในจักรพรรดิโคเม และเป็นพระราชชนนีในจักรพรรดิเม.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและโยชิโกะ นากายามะ
โยะชิกิ คุโระดะ
โยะชิกิ คุโระดะ เกิดเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2508 สามัญชนชาวญี่ปุ่นที่เสกสมรสกับอดีตเจ้าหญิงซายาโกะ เจ้าหญิงโนะริแห่งญี่ปุ่น พระธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและโยะชิกิ คุโระดะ
โคไตชิ
ตชิ พระอิสริยยศสำหรับองค์รัชทายาทหรือมกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่นซึ่งมีมาแต่โบราณกาลโดยในบางครั้งองค์จักรพรรดิก็สถาปนาพระราชโอรสขึ้นเป็นรัชทายาทบางครั้งก็สถาปนาพระราชอนุชาเป็นรัชทายาท ในยุคสมัยใหม่ จักรพรรดิเมจิ ได้สถาปนาเจ้าชายโยะชิฮิโตะพระราชโอรสองค์ใหญ่ซึ่งในเวลาต่อมาคือ จักรพรรดิไทโช ขึ้นเป็นรัชทายาทเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและโคไตชิ
โตเกียว
ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและโตเกียว
ไดโจเท็นโน
ักรพรรดิองค์ล่าสุดที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นไดโจเท็นโน ไดโจเท็นโน หรือ ดาโจเท็นโน (太上天皇 Daijō Tennō, Dajō Tennō แปลตรงตัวว่า มหาจักรพรรดิ) เป็นพระอิสริยยศของจักรพรรดิญี่ปุ่นที่สละราชสมบัติ (พระเจ้าหลวง) ตามประมวลกฎหมายไทโฮ ไดโจเท็นโนยังสามารถใช้พระราชอำนาจบางประการของกษัตริย์ได้ การใช้อำนาจเช่นนี้ปรากฏครั้งแรกในสมัยจักรพรรดินีจิโตเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 ไดโจเท็นโนที่ผนวชจะได้รับสมัญญาว่า ไดโจโฮโอ (มหาธรรมราชา) การออกผนวชดังกล่าวประพฤติกันมากในยุคเฮอัง พระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นที่เป็นไดโจเท็นโนแล้วยังใช้พระราชอำนาจกษัตริย์อยู่เป็นพระองค์ล่าสุด คือ จักรพรรดิโคกะก.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและไดโจเท็นโน
เกาหลี
กาหลี อาจหมายถึง.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเกาหลี
เอ็นเอชเค
มาคมแพร่ภาพกระจายเสียงแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ NHK เป็นองค์กรแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะของของรัฐบาลญี่ปุ่น มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่อาศัยรายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์จากผู้ชม เอ็นเอชเคมีบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินสองช่อง (ช่องทั่วไปและช่องเพื่อการศึกษา), โทรทัศน์ดาวเทียมอีกสองช่อง (ช่อง BS-1 และ BS Premium) และเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงอีก 3 สถานีในญี่ปุ่น นอกจากนี้ เอ็นเอ็ชเคยังมีโทรทัศน์ช่องสากลที่มีชื่อว่า NHK World ประกอบด้วย บริการโทรทัศน์จำนวน 2 ช่องรายการ และบริการวิทยุคลื่นสั้น 1 สถานี นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์เอ็นเอชเค ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และรายการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกบริการหนึ่งเช่นกัน.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเอ็นเอชเค
เจ้าชายฟูมิฮิโตะ เจ้าอากิชิโนะ
้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าอะกิชิโนะ (30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ และเป็นรัชทายาทลำดับที่ 2 ในการสืบราชสันติวงศ์ญี่ปุ่น (Kunaicho): หลังการเสกสมรสเมื่อเดือนมิถุนายน..
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าชายฟูมิฮิโตะ เจ้าอากิชิโนะ
เจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ
้าชายมะซะฮิโตะ เจ้าฮิตะชิ (ประสูติ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478) หรืออดีต เจ้าโยะชิ เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระอนุชาใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เจ้าชายฮิทาชิ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองใน สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุน เจ้าชายฮิทาชิเป็นทายาทในราชบัลลังก์อันดับที่ 4 และทรงเป็นที่รู้จักในเรื่องการกุศลและการค้นพบสาเหตุโรคมะเร็ง.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ
เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ
้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ (ประสูติ 6 กันยายน พ.ศ. 2549) พระบุตรองค์ที่สามและพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ ทรงเป็นรัชทายาทลำดับที่สามในการสืบราชบัลลังก์ญี่ปุ่น โดยพระองค์ถือว่าเป็นพระราชนัดดาชายเพียงพระองค์เดียวใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ
เจ้าชายคุนิโยะชิ เจ้าคุนิ
้าชายคุนิโยะชิ เจ้าคุนิ เป็นพระอนุวงศ์และจอมพลแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นในรัชสมัยเมจิและไทโช ทรงเป็นพระบิดาในสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง ทำให้ทรงมีศักดิ์เป็นพระอัยกา(ตา)ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าชายคุนิโยะชิ เจ้าคุนิ
เจ้าชายนารูฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น
้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมาร หรืออดีต เจ้าฮิโระ ประสูติ ณ กรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 ทรงจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกะคุชูอิน และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ทรงสนพระทัยในเรื่องของประวัติศาสตร์และดนตรี และยังโปรดปรานการสีวิโอลาอีกด้วย พระองค์ทรงอภิเษกกับมะซะโกะ โอะวะดะ ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในสาขาเศรษฐศาสตร์ และทางด้านการทูตที่กระทรวงการต่างประเท.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าชายนารูฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น
เจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น
้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น (ประสูติ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระชายาในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ โดยสมาชิกราชวงศ์ราชวงศ์ญี่ปุ่นหลังจากการอภิเษกสมร.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น
เจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ
้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2534) เป็นพระธิดาพระองค์โตในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ ปัจจุบันทรงงานเป็นนักวิจัยในพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยโตเกียว.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ
เจ้าหญิงคาโกะแห่งอากิชิโนะ
้าหญิงคาโกะแห่งอากิชิโนะ (29 ธันวาคม พ.ศ. 2537) เป็นพระธิดาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าหญิงคาโกะแห่งอากิชิโนะ
เจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ
้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ (11 กันยายน พ.ศ. 2509) พระนามเดิม คิโกะ คะวะชิมะ เป็นพระชายาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอะกิชิโนะ และเป็นพระสุณิสาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ
เจ้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทชิ
้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทะชิ (1 ธันวาคม พ.ศ. 2544) เป็นพระธิดาพระองค์เดียวในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น กับเจ้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเจ้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทชิ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ (อังกฤษ: Supreme Order of the Chrysanthemum) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสุงสุดของญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ (Knight and Dame of the Most Auspicious Order of the Rajamitrabhorn) เรียกโดยย่อว่า "ร.ม.." เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดอกคิริ
รื่องราชอิสริยาภรณ์ดอกคิริ (Order of the Paulownia Flowers) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มอบโดยรัฐบาลญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นเมื่อ ค.ศ.
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดอกคิริ
เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์
รื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ (Ordre National de la Légion D'honneur,; National Order of the Legion of Honour) เป็น "เครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวิน" (Ordres de chevalerie; Chivalric order) ชั้นสูงสุดแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นโดย นโปเลียน โบนาปาร์ต กงสุลเอกแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2345 มีห้าชั้น ได้แก่ ประถมาภรณ์ ทุติยาภรณ์ ตริตาภรณ์ จตุรถาภรณ์ และเบญจมาภรณ์ ตามอันดับ ปัจจุบัน มีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเป็นประธาน และรักษาไว้ที่ "ตำหนักเลฌียงดอเนอร์" (Palais de la Légion D'honneur) ริมฝั่งซ้ายน้ำแซน ณ กรุงปารีส ทั้งนี้ คำว่า "เลฌียงดอเนอร์" มีความหมายว่า "กองพลเกียรติยศ" และคติพจน์แห่งเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ คือ "เกียรติยศและปิตุภูมิ" (Honneur et Patrie; Honour and Fatherland).
ดู สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะและเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์
เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์
รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..
ดูเพิ่มเติม
จักรพรรดิญี่ปุ่นผู้ทรงสละราชสมบัติ
- การว่าราชการในวัด
- จักรพรรดิจุนนะ
- จักรพรรดินีจิโต
- จักรพรรดินีเก็นโช
- จักรพรรดินีเก็มเม
- จักรพรรดินีเมโช
- จักรพรรดินีโคเก็ง
- จักรพรรดินีโคเงียวกุ
- จักรพรรดิเซวะ
- จักรพรรดิเรเง็ง
- จักรพรรดิเรเซ
- จักรพรรดิโกะ-เอ็งยู
- จักรพรรดิโกะ-โคงง
- จักรพรรดิโคนิง
- จักรพรรดิโคเมียว
- จักรพรรดิโชมุ
- จักรพรรดิโชเก
- จักรพรรดิโยเซ
- จักรพรรดิไดโงะ
- สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
- ไดโจเท็นโน
- ไดโจโฮโอ
นักมีนวิทยาชาวญี่ปุ่น
- สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
พระราชบุตรในจักรพรรดิโชวะ
- ชิเงโกะ ฮิงาชิกูนิ
- ทากาโกะ ชิมาซุ
- สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
ยุคเฮเซ
- จุนอิจิโร โคอิซูมิ
- ยุคเฮเซ
- สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
- โมเอะ
สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์วัฒนธรรม
- จักรพรรดิโชวะ
- ทาดาโอะ อันโด
- สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
- อิซเซ มิยาเกะ
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัฒนธรรม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Akihitoสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะแห่งญี่ปุ่นสมเด็จจักรพรรดิอะกิฮิโตะ แห่งญี่ปุ่นอะกิฮิโตะจักรพรรดิอะกิฮิโตะจักรพรรดิ์อากิฮิโตะจักรพรรดิเฮเซเจ้าชายอะกิฮิโตะเจ้าชายอากิฮิโต