โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 vs. หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิก. ลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวงในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยาพ.ศ. 2495พ.ศ. 2500การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)ผิน ชุณหะวัณจังหวัดชุมพรแปลก พิบูลสงคราม26 กุมภาพันธ์

บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง.

บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยาและหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · พ.ศ. 2495และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2500และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · พ.ศ. 2500และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

อมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ จอมพลเรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงสหกรณ์ กระทรวงวัฒนธรรม และรองนายกรัฐมนตรี จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม..

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) · หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ผิน ชุณหะวัณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ผิน ชุณหะวัณและหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว.

จังหวัดชุมพรและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · จังหวัดชุมพรและหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และแปลก พิบูลสงคราม · หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

26 กุมภาพันธ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · 26 กุมภาพันธ์และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 มี 144 ความสัมพันธ์ขณะที่ หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 5.33% = 9 / (144 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »