โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

พรรคประชาธิปัตย์ vs. สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175. มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 มี 21 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชวน หลีกภัยบัญญัติ บรรทัดฐานบุญเท่ง ทองสวัสดิ์พ.ศ. 2529พรรคชาติไทยพรรคกิจสังคมพิชัย รัตตกุลกรุงเทพมหานครการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526มารุต บุนนาควีระกานต์ มุสิกพงศ์สมัคร สุนทรเวชสุเทพ เทือกสุบรรณสนั่น ขจรประศาสน์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหาญ ลีนานนท์ขุนทอง ภูผิวเดือนดำรง ลัทธพิพัฒน์ไกรสร ตันติพงศ์เล็ก นานาเสนาะ พึ่งเจียม

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ชวน หลีกภัยและพรรคประชาธิปัตย์ · ชวน หลีกภัยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

บัญญัติ บรรทัดฐานและพรรคประชาธิปัตย์ · บัญญัติ บรรทัดฐานและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และพรรคประชาธิปัตย์ · บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2529และพรรคประชาธิปัตย์ · พ.ศ. 2529และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

พรรคชาติไทยและพรรคประชาธิปัตย์ · พรรคชาติไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

พรรคกิจสังคมและพรรคประชาธิปัตย์ · พรรคกิจสังคมและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

พรรคประชาธิปัตย์และพิชัย รัตตกุล · พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและพรรคประชาธิปัตย์ · กรุงเทพมหานครและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526และพรรคประชาธิปัตย์ · การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

พรรคประชาธิปัตย์และมารุต บุนนาค · มารุต บุนนาคและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

พรรคประชาธิปัตย์และวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · วีระกานต์ มุสิกพงศ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

พรรคประชาธิปัตย์และสมัคร สุนทรเวช · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส. ซึ่งดำเนินการประท้วงเพื่อพยายามโค่นรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในห้วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาเรียกร้องให้ตั้ง "สภาประชาชน" ซึ่งมิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง เขาเคยเรียกร้องเพื่อให้เขาสวมบทบาทเป็น "องค์อธิปัตย์" เพื่อออกกฎบัตร ตั้งรัฐบาลใหม่ และตั้งสภาประชาชน และจะประท้วงต่อหากรัฐบาลใหม่ไม่สามารถนำการปฏิรูปที่ กปป.

พรรคประชาธิปัตย์และสุเทพ เทือกสุบรรณ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุเทพ เทือกสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

พรรคประชาธิปัตย์และสนั่น ขจรประศาสน์ · สนั่น ขจรประศาสน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

พรรคประชาธิปัตย์และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หาญ ลีนานนท์

ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.

พรรคประชาธิปัตย์และหาญ ลีนานนท์ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และหาญ ลีนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนทอง ภูผิวเดือน

นายขุนทอง ภูผิวเดือน (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2538) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 6 สมั.

ขุนทอง ภูผิวเดือนและพรรคประชาธิปัตย์ · ขุนทอง ภูผิวเดือนและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

ดำรง ลัทธพิพัฒน์

ำรง ลัทธพิพัฒน์ (29 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ดำรง ลัทธพิพัฒน์และพรรคประชาธิปัตย์ · ดำรง ลัทธพิพัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

ไกรสร ตันติพงศ์

กรสร ตันติพงศ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของเชียงใหม่ คือ 7 สมั.

พรรคประชาธิปัตย์และไกรสร ตันติพงศ์ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และไกรสร ตันติพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก นานา

นายเล็ก นานา (18 มีนาคม พ.ศ. 2468 - 1 เมษายน พ.ศ. 2553) เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9 อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หลายสมั.

พรรคประชาธิปัตย์และเล็ก นานา · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเล็ก นานา · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ พึ่งเจียม

นายเสนาะ พึ่งเจียม (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2475) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร 5 สมั.

พรรคประชาธิปัตย์และเสนาะ พึ่งเจียม · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเสนาะ พึ่งเจียม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

พรรคประชาธิปัตย์ มี 268 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 มี 283 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 21, ดัชนี Jaccard คือ 3.81% = 21 / (268 + 283)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »