สารบัญ
127 ความสัมพันธ์: ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์บัญญัติ จันทน์เสนะชัยชาญ ช้างมงคลชาตอุดม ติตถะสิริบุญชัย โชควัฒนาบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ชูเกียรติ รัตนชัยชาญพ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพรทิพย์ จาละพรเพชร วิชิตชลชัยพัชรวาท วงษ์สุวรรณพิรุณ แผ้วพลสงพิสิทธิ์ สิทธิสารพีระศักดิ์ พอจิตพงศพัศ พงษ์เจริญกรรณภว์ ธนภรรคภวินกรุงเทพมหานครกฤษฎา เจริญพานิชกลชัย สุวรรณบูรณ์กล้านรงค์ จันทิกกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูรกองอาสารักษาดินแดนกองทัพไทยกัมปนาท รุดดิษฐ์กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2557กำธร พุ่มหิรัญกิตติ วะสีนนท์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัยกิตติพงษ์ เกษโกวิทกู้เกียรติ ศรีนาคาภาณุ อุทัยรัตน์ภิรมย์ กมลรัตนกุลมณเฑียร บุญตันรัชตะ รัชตะนาวินรัฐสภาไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560รายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศวรพงษ์ สง่าเนตรวลิต โรจนภักดีวัชรพล ประสารราชกิจวิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยาวิลาศ อรุณศรีวิทยา ผิวผ่องวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์วุฒิสภาไทยวีระศักดิ์ ฟูตระกูล... ขยายดัชนี (77 มากกว่า) »
ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์
ลตำรวจเอก ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์ (24 ตุลาคม 2497-) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ,อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม,อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ,อดีตอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และชัชวาลย์ สุขสมจิตร์
บัญญัติ จันทน์เสนะ
นายกองเอกบัญญัติ จันทน์เสนะ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รองประธานกรรมการคณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานมูลนิธิสวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้แทนคณะรัฐมนตรี ในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.).
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และบัญญัติ จันทน์เสนะ
ชัยชาญ ช้างมงคล
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชัยชาญ ช้างมงคล (ชื่อเล่น: ช้าง, บิ๊กช้าง เกิด 25 มกราคม พ.ศ. 2500) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ราชองครักษ์เวรรองหัวหน้าผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และชัยชาญ ช้างมงคล
ชาตอุดม ติตถะสิริ
ลเอก ชาตอุดม ติตถะสิริ ราชองครักษ์พิเศษ ตุลาการศาลทหารสูงสุด รอง ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกลาโหม, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และรองเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 22/2557 กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ เป็นอดีตรองเสนาธิการทหารบก, อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, อดีตปลัดบัญชีทหารบก อดีตประธานกรรมการคณะกรรมการติดตามและตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณภาครั.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และชาตอุดม ติตถะสิริ
บุญชัย โชควัฒนา
นายบุญชัย โชควัฒนา ประธานกรรมการบริษัท บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) สมรสกับ นางลัดดา โชควัฒนา เป็นบุตรของดร.เทียม-นางสายพิณ โชควัฒนา มีบุตร 2 คน คือ ชัยลดา ตันติเวชกุล ชัยลดล โชควัฒนา ในปี..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และบุญชัย โชควัฒนา
บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ (เกิด 15 มกราคม พ.ศ. 2491 ที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย และเป็นหนึ่งในสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) ประธานคณะกรรมการปฏิรูปตำรวจ กรรมการและที่ปรึกษาในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา พลเอก บุญสร้าง ได้รับรางวัลแห่งหอเกียรติยศ จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) เมื่อปี..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์
ชูเกียรติ รัตนชัยชาญ
ูเกียรติ รัตนชัยชาญ (8 ธันวาคม พ.ศ. 2498 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) อดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตโฆษกกรรมาธิการต่างประเทศ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทยและกรรมการในคณะกรรมการองค์การสวนสัตว์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) อดีตกรรมการในคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา และกรรมการในศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และชูเกียรติ รัตนชัยชาญ
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพ.ศ. 2559
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พรทิพย์ จาละ
ณ พรทิพย์ จาละ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นอดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ระหว่างปี..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพรทิพย์ จาละ
พรเพชร วิชิตชลชัย
ตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง ใน คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เคยดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฏีกา ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 4 และที่ปรึกษากฎหมายของคณะรักษาความสงบแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพรเพชร วิชิตชลชัย
พัชรวาท วงษ์สุวรรณ
ลตำรวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ (เกิด 22 มีนาคม พ.ศ. 2492) ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน) และ กรรมการอิสระ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพัชรวาท วงษ์สุวรรณ
พิรุณ แผ้วพลสง
ลเอก พิรุณ แผ้วพลสง อดีตประธานกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 21 (จปร.21) กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน กรรมการ เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพิรุณ แผ้วพลสง
พิสิทธิ์ สิทธิสาร
ลเอก พิสิทธิ์ สิทธิสาร หรือ บิ๊กแกละ รองเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รองผู้บัญชาการทหารบก ตุลาการศาลทหารสูงสุด ผู้อำนวยการศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติราชองครักษ์เวร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพิสิทธิ์ สิทธิสาร
พีระศักดิ์ พอจิต
ีระศักดิ์ พอจิต (เกิด 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2503) เป็นรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติคนที่ 2 และกรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 อัยการพิเศษประจำกรมช่วยราชการสำนักงานอัยการจังหวัดอุตรดิตถ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ นักกฎหมายชาวไทย เนติบัณฑิตไท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพีระศักดิ์ พอจิต
พงศพัศ พงษ์เจริญ
ลตำรวจเอก พงศพัศ พงษ์เจริญ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) และประธานคณะอนุกรรมการ กลั่นกรองการกระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ ในเขตกรุงเทพมหานคร, อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ 10) ฝ่ายความมั่นคงและกิจการพิเศษ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, อดีตโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นผู้แทนพรรคเพื่อไทย ในการลงสมัครเข้ารับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และพงศพัศ พงษ์เจริญ
กรรณภว์ ธนภรรคภวิน
กรรณภว์ ธนภรรคภวิน (29 สิงหาคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษาผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตผู้พิพากษาสมทบศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกรรณภว์ ธนภรรคภวิน
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกรุงเทพมหานคร
กฤษฎา เจริญพานิช
ลเรือเอก กฤษฎา เจริญพานิช (17 มกราคม พ.ศ. 2500) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เจ้ากรมพระธรรมนูญ หัวหน้าสำนักตุลาการทหาร และตุลาการพระธรรมนูญ หัวหน้าศาลทหารสูง.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกฤษฎา เจริญพานิช
กลชัย สุวรรณบูรณ์
ลตรี กลชัย สุวรรณบูรณ์ (6 กันยายน พ.ศ. 2494) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชุมพร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกลชัย สุวรรณบูรณ์
กล้านรงค์ จันทิก
กล้านรงค์ จันทิก เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกล้านรงค์ จันทิก
กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร
นางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพิงคนคร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานคณะกรรมการควบคุมการใช้สารต้องห้ามทางการกีฬาและประธานกรรมการกีฬาอาชีพ รองประธานกรรมการคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย ในคณะรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอดีตประธานกรรมการบริหารบริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จำกั.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร
กองอาสารักษาดินแดน
กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกองอาสารักษาดินแดน
กองทัพไทย
กองทัพไทย (Royal Thai Armed Forces) เป็นกองทัพของราชอาณาจักรไทย แบ่งเป็นสามเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอาก.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกองทัพไทย
กัมปนาท รุดดิษฐ์
ลเอก กัมปนาท รุดดิษฐ์ หรือ บิ๊กโชย กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชองคมนตรี ราชองครักษ์พิเศษตุลาการศาลทหารสูงสุด ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก กรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาตินายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกัมปนาท รุดดิษฐ์
กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์
กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พุทธศักราช 2557, กรรมการกฤษฎีกา กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2557
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เดือนสิงหาคม..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2557
กำธร พุ่มหิรัญ
ลเรือเอก กำธร พุ่มหิรัญ (ชื่อเล่น: ติ๊ด) เกิดเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เป็นบุตรของนายอรุณ พุ่มหิรัญ อดีตรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับนางนันทนา พุ่มหิรัญ จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10) โรงเรียนนายเรือรุ่นที่ 67 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือรุ่นที่ 45 วิทยาลัยการทัพเรือรุ่นที่ 29 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 46 และหลักสูตรจากต่างประเทศอีก 4 หลักสูตร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกำธร พุ่มหิรัญ
กิตติ วะสีนนท์
กิตติ วะสีนนท์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พุทธศักราช 2557 อดีตอธิบดีกรมอาเซียน อดีตอธิบดีกรมสารนิเทศ และอดีตโฆษกกระทรวงการต่างประเท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกิตติ วะสีนนท์
กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย
รองศาสตราจารย์ กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น คนที่ 10 เป็นศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ รุ่นที่ 11 เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 11 และเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยขอนแก่นคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย หรือ ร.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย เมื่อหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย
กิตติพงษ์ เกษโกวิท
ลเอก กิตติพงษ์ เกษโกวิท อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2493 จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 8 (ตท.8-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ, พล.อ.พหล สง่าเนตร, พล.อ.สมเจตน์ บุญถนอม, พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 19 (จปร.19) จากนั้นได้ศึกษาต่อหลักสูตรชั้นนายร้อย-นายพันเหล่าทหารราบไทย, หลักสูตรชั้นนายพันเหล่าทหารราบสหรัฐอเมริกา และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 47 (วปร.47-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ์).
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกิตติพงษ์ เกษโกวิท
กู้เกียรติ ศรีนาคา
ลโทกู้เกียรติ ศรีนาคา (เกิด 2 สิงหาคม พ.ศ. 2503) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติและแม่ทัพภาคที่ 1.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และกู้เกียรติ ศรีนาคา
ภาณุ อุทัยรัตน์
นายกองเอกภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อดีตเลขานุการผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรรมการธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยอดีตที่ปรึกษาด้านความมั่นคง(เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน10 ชช) สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย และเป็นเลขาธิการคนแรกของ ศอ.บต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และภาณุ อุทัยรัตน์
ภิรมย์ กมลรัตนกุล
ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพท..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และภิรมย์ กมลรัตนกุล
มณเฑียร บุญตัน
มณเฑียร บุญตัน (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2508 -) สมาชิกคณะกรรมการว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (Committee on the Rights of Persons with Disabilities – CRPD) วาระปี..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และมณเฑียร บุญตัน
รัชตะ รัชตะนาวิน
ตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน (13 สิงหาคม พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและประธานกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และรัชตะ รัชตะนาวิน
รัฐสภาไทย
รัฐสภาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศไทย เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอันเป็นส่วนหนึ่งของอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการปกครองโดยใช้ระบบสองสภา โดยทั้งสองสภาจะประชุมร่วมกันหรือแยกกันแล้วแต่ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยตำแหน่ง อย่างไรก็ดีตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และรัฐสภาไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 จัดร่างโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองหลังรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 20 ซึ่งจัดร่างโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ในระหว่าง..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
รายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ
นี่เป็นรายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ มีทั้งระดับชาติ (national) และเหนือชาติ (supranational) ชื่อสภานิติบัญญัตินั้นผิดแผกกันไปในแต่ละแห่ง ที่นิยม คือ สมัชชาแห่งชาติ (national assembly) และรัฐสภา (parliament หรือ congress).
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และรายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ
วรพงษ์ สง่าเนตร
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ดร.วรพงษ์ สง่าเนตร (เกิด 15 กุมภาพันธ์ 2498) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานกรรมการ คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ นายทหารพิเศษประจำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557 อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อดีตเสนาธิการทหาร อดีตเจ้ากรมยุทธการทหาร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวรพงษ์ สง่าเนตร
วลิต โรจนภักดี
ลเอก วลิต โรจนภักดี (14 มีนาคม 2499-) ตุลาการศาลทหารสูงสุด รองผู้บัญชาการทหารบก ประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 96/2557 นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษามาตรการการพิทักษ์และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 รองเสนาธิการทหาร เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวลิต โรจนภักดี
วัชรพล ประสารราชกิจ
ลตำรวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 159/2557 อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอดีตรักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ นับเป็นผู้ใช้อำนาจผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรกที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอก.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวัชรพล ประสารราชกิจ
วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา (ชื่อเล่น: น้อย) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการอิสระ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการปิโตรเลียม อดีตประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
วิลาศ อรุณศรี
ลเอก วิลาศ อรุณศรี (บิ๊กอ้อ) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ผู้อำนวยการศูนย์บัญชาการติดตามสถานการณ์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่โฆษกรัฐบาลในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก อดีตผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกฝ่ายการข่าว พล.อ.วิลาศ เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 รุ่นเดียวกับพลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวิลาศ อรุณศรี
วิทยา ผิวผ่อง
นายกองเอก วิทยา ผิวผ่อง สมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) อดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้ได้รับพระบรมราชวโรกาสเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ ทุ่งมะขามหย่อง ตำบลบ้านใหม่ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวิทยา ผิวผ่อง
วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง กรรมการอิสระ บริษัท บางกอก โพสต์ จำกัด (มหาชน) อดีตรักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์
วุฒิสภาไทย
วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวุฒิสภาไทย
วีระศักดิ์ ฟูตระกูล
นายวีระศักดิ์ ฟูตระกูล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศและอดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี กระทรวงต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตผู้ปฏิบัติงานในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.)ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 98/2552 ในเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และวีระศักดิ์ ฟูตระกูล
ศานิตย์ มหถาวร
ลตำรวจโท ศานิตย์ มหถาวร (ชื่อเล่น: แป๊ะ, บิ๊กแป๊ะ, เกิด 9 ธันวาคม พ.ศ. 2499) อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล,นายตำรวจ ราชสำนักเวรเจ้าพนักงานจราจรในเขตกรุงเทพมหานคร,สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติกรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษา ความปลอดภัยที่ปรึกษา บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) และอดีตผู้บัญชาการประจำสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พลตำรวจโทศานิตย์เกิดเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และศานิตย์ มหถาวร
ศิริชัย ดิษฐกุล
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ศิริชัย ดิษฐกุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตประธานคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว นายทหารพิเศษประจำ กรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ประจำ กรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์โรงเรียนนายเรืออากาศ เป็นอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม, อดีตเสนาธิการทหาร, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก มีชื่อเล่นว่า "บี้" หรือที่บรรดาสื่อมวลชนเรียกว่า "บิ๊กบี้"และอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และศิริชัย ดิษฐกุล
ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ
ลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ (16 มกราคม พ.ศ. 2490 -) เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพเรือ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ
สภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสภาผู้แทนราษฎรไทย
สม จาตุศรีพิทักษ์
ตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์ (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2483) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สมาชิกวุฒิสภา อดีตผู้บริหารบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ธนาคารสยาม (เดิมคือ ธนาคารเอเชียทรัสต์) และกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เป็นพี่ชายของสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ สมเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2529 จบการศึกษาจากโรงเรียนเผยอิง โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข จบปริญญาตรีสาขาบัญชีจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นเข้าทำงานที่บริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ต่อมาจึงสอบได้ทุนฟูลไบรท์ไปศึกษาต่อปริญญาโทบริหารธุรกิจ และปริญญาเอกบริหารธุรกิจด้านการเงิน จากสเตตยูนิเวอร์ซิตีออฟนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา และกลับเข้าทำงานที่บริษัทเดิมจนได้รับตำแหน่ง กรรมการและกรรมการบริหาร ในบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ จากนั้นได้เข้าสู่วงการธนาคารจากการเข้ารับตำแหน่งกรรมการบริหารธนาคารสยาม และเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เมื่อ..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสม จาตุศรีพิทักษ์
สมชาย แสวงการ
มชาย แสวงการ เกิดเมื่อวันที่ 12 เมษายน..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสมชาย แสวงการ
สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง
ลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง (27 ธันวาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 17 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 10 ของประเทศไทย อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง
สมศักดิ์ นิลบรรเจิดกุล
ลเอก สมศักดิ์ นิลบรรเจิดกุล (22 ตุลาคม พ.ศ. 2499-) ราชองครักษ์เวร รองประธานกรรมการคณะกรรมการการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และรับทราบความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ พลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ รองเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก,สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติอดีตแม่ทัพภาคที่ 3 อดีตผู้บังคับการจังหวัดทหารบกพะเยา อดีตผู้บัญชาการกองพลทหารม้าที่ 1 และอดีตรองแม่ทัพภาคที่ 3.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสมศักดิ์ นิลบรรเจิดกุล
สมหมาย เกาฏีระ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมหมาย เกาฏีระ หรือ บิ๊กเต้ ตุลาการศาลทหารสูงสุด สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบูรณาการการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 140/2557 นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระอง.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสมหมาย เกาฏีระ
สมคิด เลิศไพฑูรย์
ตราจารย์ สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดึตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และศาสตราจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเคยเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและเลขานุการคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสมคิด เลิศไพฑูรย์
สมเจตน์ บุญถนอม
ลเอก สมเจตน์ บุญถนอม อดีตสมาชิกวุฒิภาแบบสรรหา กรรมการการประปานครหลวงและ กรรมการที่เป็นอิสระการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) อดีตหัวหน้าคณะสำนักงานเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) และอดีตประธานคณะที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (นายสมัคร สุนทรเวช).
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสมเจตน์ บุญถนอม
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
สยามมกุฎราชกุมาร
มมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ พระอิสริยยศนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงกำหนดขึ้นเมื่อ..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสยามมกุฎราชกุมาร
สสิน ทองภักดี
ลเอกสสิน ทองภักดี (ชื่อเล่น:ต้อ, บิ๊กต้อ, เกิด 14 กุมภาพันธ์ 2501) รองผู้บัญชาการทหารบก ราชองครักษ์เวรรอง ล.รมน.และปฏิบัติหน้าที่ ผอ.ศปป.5 กอ.รมน.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสสิน ทองภักดี
สุชาติ หนองบัว
ลเอก สุชาติ หนองบัว (24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 -) ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และรองหัวหน้าฝ่ายกิจกรรมพิเศษของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และประธานอนุการกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคม การเคหะแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสุชาติ หนองบัว
สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย
รชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่ 1 เป็นกรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตรักษาการประธานวุฒิสภา อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และอดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา เป็นนักกฎหมายและเนติบัณฑิตไท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย
สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ (ชื่อเล่น: ปุย, บิ๊กปุย; เกิด 28 ธันวาคม พ.ศ. 2499) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ราชองครักษ์เวร กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตุลาการศาลทหารสูงสุด ประธานกรรมการบริษัททีโอที อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ นายทหารพิเศษ ประจำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 และอดีตเสนาธิการทหาร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์
สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์
ลเรือเอก สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ รองเลขาธิการประจำผู้ดำรงตำแหน่งในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตเป็นที่ปรึกษาพิเศษกองทัพเรือ และได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารเรือ สืบต่อจาก พล.ร.อ.กำธร พุ่มหิรัญ ที่เกษียณอายุราชการ ในเดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์
สุรางคณา วายุภาพ
นางสุรางคณา วายุภาพ นางสุรางคณา วายุภาพ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) คนแรก โดยกระทรวงไอซีทีชี้ว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และกฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสุรางคณา วายุภาพ
สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์
ลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ (23 มิถุนายน พ.ศ. 2498 -) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการราชองครักษ์พิเศษ หัวหน้าผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้จัดการทีมชาติไทย อดีตหัวหน้าคณะนายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำผู้บังคับบัญชา อดีตรองเสนาธิการทหารบก และอดีตผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 4.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสุรเชษฐ์ ชัยวงศ์
อภิรัชต์ คงสมพงษ์
ลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์ (เกิด 23 มีนาคม พ.ศ. 2503) เป็นนายทหารชาวไทย ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ สังกัด กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ, นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ สังกัดกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 1, อดีตแม่ทัพน้อยที่ 1, อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์, อดีตผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 15, อดีตผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 11 จังหวัดฉะเชิงเทรา, อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ (ผบ.ร.11 รอ.) ประธานกรรมการสลากกินแบ่งรัฐบาล สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล หรือประธานบอร์ดกองสลาก, กรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)กรรมาธิการในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอภิรัชต์ คงสมพงษ์
อักษรา เกิดผล
ลเอก อักษรา เกิดผล (2 มกราคม 2498-) ราชองครักษ์พิเศษ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติอดีตหัวหน้าส่วนยุทธการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน อดีตประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก อดีตเสนาธิการทหารบก อดีตรองเสนาธิการทหารบก อดีตผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกฝ่ายยุทธการ และอดีตเจ้ากรมยุทธการทหารบก ในเหตุการณ์ นปช.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอักษรา เกิดผล
อาศิส พิทักษ์คุมพล
อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี ประธานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสงขล.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอาศิส พิทักษ์คุมพล
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการในคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบูรณาการการพัฒนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและอีกหลายคณะกรรมการในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รวมถึงเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหาร สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอาคม เติมพิทยาไพสิฐ
อาคารรัฐสภาไทย
อาคารรัฐสภา เป็นสำนักของรัฐสภาไทย ใช้เป็นที่ประชุมร่วมกันหรือแยกกันของสภาผู้แทนราษฎรไทยและวุฒิสภาไทย ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา รวมตลอดถึงหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐสภาด้วย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 หลังการปฏิวัติสยามและประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฉบับแรก ผู้แทนราษฎรจำนวน 70 คนซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ได้ประกอบกันเป็นสภาผู้แทนราษฎรและประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรทั่วประเทศได้สำเร็จลง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้โปรดให้สภาผู้แทนราษฎรประชุมกันที่พระที่นั่งนี้ได้ต่อไป ครั้นจำนวนสมาชิกรัฐสภาเพิ่มขึ้นตามอัตราประชากรที่เพิ่มขึ้น และจำต้องมีที่ทำการของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา จึงจำต้องสร้างอาคารรัฐสภาที่รับความต้องการดังกล่าวได้ ในการนี้ มีการวางโครงการสร้างอาคารรัฐสภาใหม่ถึงสี่ครั้ง แต่สามครั้งแรกไปไม่ตลอดรอดฝั่งเพราะคณะรัฐมนตรีซึ่งริเริ่มโครงการต้องพ้นจากตำแหน่งไปเสียก่อน ในครั้งที่สี่ เริ่มโครงการก่อสร้างเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2513 มีกำหนดสร้างเสร็จภายใน 850 วัน ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 51,027,360 บาท ประกอบด้วยอาคารหลัก 3 หลัง คือ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอาคารรัฐสภาไทย
อำพน กิตติอำพน
อำพน กิตติอำพน (10 ตุลาคม 2498 -) ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารสำนักงานและผู้อำนวยการ สำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีตาม คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 183/2559 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์ในคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย อดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการนอกจากนี้ยังดำรงตำแหน่งประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทยถึง 2 สมัย ประธานกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) สว.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอำพน กิตติอำพน
อิทธพร ศุภวงศ์
ลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์ ปัจจุบันเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เขาเป็นผู้ปฏิบัติงานในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.)ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 98/2552 ในเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอิทธพร ศุภวงศ์
อินทรัตน์ ยอดบางเตย
ลตรีอินทรัตน์ ยอดบางเตย (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 -) อดีตสมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเชียงใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย อดีตผู้ทรงคุณวุฒิ กองบัญชาการทหารสูงสุด และเคยเป็นที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (อนงค์วรรณ เทพสุทิน).
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอินทรัตน์ ยอดบางเตย
อนันตพร กาญจนรัตน์
ลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ ราชองครักษ์พิเศษ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และอนันตพร กาญจนรัตน์
จอม รุ่งสว่าง
ลอากาศเอก จอม รุ่งสว่าง (ชื่อเล่น: จอม, บิ๊กจอม; เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2501) รองประธานกรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ผู้บัญชาการทหารอากาศ,ตุลาการศาลทหารสูงสุด ผู้บัญชาการศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการบินพลเรือน กรรมการในคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 6/2559 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ราชองครักษ์เวร กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สโมสรฟุตบอล อินทรีทัพฟ้า แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล เอฟซี และสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน).
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และจอม รุ่งสว่าง
จักรทิพย์ ชัยจินดา
ลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา (ชื่อเล่น: แป๊ะ, เกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2502) ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, นายตำรวจราชสำนักเวร, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน, กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก, กรรมการในคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์, กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางพระพุทธศาสนา, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และการทำประมงผิดกฎหมาย, ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ, กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว, กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559, กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง และ กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการการบริหารการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดใน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธาน บริษัท พรีเมียร์ลีกไทยแลนด์ จำกัด ประธานสโมสร โปลิศ เทโร กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช และ อดีตกรรมการอิสระ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และจักรทิพย์ ชัยจินดา
จารึก อารีราชการัณย์
ลตรี จารึก อารีราชการัณย์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พุทธศักราช 2557 อดีตสมาชิกวุฒิสภา พุทธศักราช 2539 นายกสมาคมตะกร้อแห่งประเทศไทย รองประธานกรรมการและเลขาธิการกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และจารึก อารีราชการัณย์
จุฬาราชมนตรี
ฬาราชมนตรี เป็นผู้นำกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย และเป็นตำแหน่งฝ่ายมุสลิมให้ข้อปรึกษาด้านศาสนาอิสลามแก่รัฐบาลไทย โดยเฉพาะแก่กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงวัฒนธรรม มีประวัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ในทำเนียบศักดินาของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทำเนียบตำแหน่งขุนนาง ซึ่งในชั้นหลังเรียกว่า "กรมท่าขวา" มี "พระจุลาราชมนตรี" เป็นหัวหน้าฝ่ายแขก คู่กับ "หลวงโชฎึกราชเศรษฐี" หัวหน้าฝ่ายจีน.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และจุฬาราชมนตรี
ธวัชชัย สมุทรสาคร
ลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร กรรมการในคณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝ่ายตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 336/2558 สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ เป็นอดีตแม่ทัพภาคที่ 2 เป็นคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการ และการบริหารงานของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และเป็นประธานบริหารบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และธวัชชัย สมุทรสาคร
ธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ (เกิด; 5 สิงหาคม 2501) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ อดีตเสนาธิการทหาร สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช และสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และธารไชยยันต์ ศรีสุวรรณ
ธีรชัย นาควานิช
ลเอก ธีรชัย นาควานิช (ชื่อเล่น: หมู, เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498) อดีตองคมนตรี ราชองครักษ์พิเศษตุลาการศาลทหารสูงสุด ประธานกรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค กรรมการการไฟฟ้านครหลวง และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,นายทหารพิเศษประจำ หน่วยทหารรักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด กรรมการ ธนาคารทหารไท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และธีรชัย นาควานิช
ธีรเดช มีเพียร
ลเอก ธีรเดช มีเพียร สมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา (ชุด 2554) และ อดีตประธานวุฒิสภา คนที่ 18 ของไทย อดีตประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย และอดีดปลัดกระทรวงกลาโหม รองประธานสถาบันพระปกเกล้.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และธีรเดช มีเพียร
ทรงกิตติ จักกาบาตร์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ (22 ธันวาคม พ.ศ. 2493 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด เคยดำรงตำแหน่งเป็นเสนาธิการทหารบกและแม่ทัพภาคที่ 4.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และทรงกิตติ จักกาบาตร์
ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์
ลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ (ACM Songtam Chokkanapitag) (13 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์
ทหาร
ทหารในประเทศเคนยา ทหาร หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ นักรบ ผู้เป็นกำลังรักษาความมั่นคงและบำรุงประเทศและผู้เป็นกำลังรบและทำหน้าที่อื่นๆ ในยามสงคราม.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และทหาร
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และทักษิณ ชินวัตร
ณรงค์ชัย อัครเศรณี
ณรงค์ชัย อัครเศรณี อดีตที่ปรึกษาในคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตประธานกรรมการธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย และยังเป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของประเทศไท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และณรงค์ชัย อัครเศรณี
ณะ อารีนิจ
ลเรือเอก ณะ อารีนิจ ราชองครักษ์เวร ผู้บัญชาการศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย, ตุลาการศาลทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารเรือ, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ประธานกรรมการบริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าวกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นอดีตเสนาธิการทหารเรือ, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และณะ อารีนิจ
ณัฐ อินทรเจริญ
ลเอกณัฐ อินทรเจริญ หรือ บิ๊กณัฐ รองปลัดกระทรวงกลาโหม,สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ(สนช.), ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมกีฬาแบดมินตัน แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัม.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และณัฐ อินทรเจริญ
ณัฐพล นาคพาณิชย์
ลเอกณัฐพล นาคพาณิชย์ (เกิด 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504) เป็นนายทหารชาวไทย ดำรงตำแหน่งเสนาธิการทหารบกกรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และณัฐพล นาคพาณิชย์
คุณหญิง
ณหญิง เป็นคำนำหน้าใช้สำหรับสตรีที่สมรสแล้วซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น จตุตถจุลจอมเกล้า (จ.จ.) ตติยจุลจอมเกล้า (ต.จ.) และทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ส่วนสตรีที่ยังมิได้สมรสให้ใช้คำนำหน้าว่า "คุณ" ยกเว้น สตรีในราชตระกูลตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป รวมทั้ง หม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวง ยังคงใช้พระนามและคำนำหน้านามเดิม นอกจากนี้ คำว่า คุณหญิง ยังใช้เป็นนามลำลองของ หม่อมราชวงศ์หญิง อีกด้วย เช่น หม่อมราชวงศ์ ศรีคำรุ้ง ยุคล มีนามลำลองว่า คุณหญิงแมงมุม เป็นต้น.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และคุณหญิง
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
คณิต สาพิทักษ์
ลเอก คณิต สาพิทักษ์ อดีตประธานที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 อดีตประธานกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และคณิต สาพิทักษ์
ตรีทศ สนแจ้ง
ลอากาศเอก ตรีทศ สนแจ้ง กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชรองหัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ,ตุลาการศาลทหารสูงสุดราชองครักษ์พิเศษอดีตผู้บัญชาการศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการบินพลเรือน นายทหารพิเศษประจำหน่วยรักษาพระองค์ ฝูงบิน 201 รักษาพระองค์กองบิน 2 สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รักษาการประธานกรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และเป็นอดีตเสนาธิการทหารอาก.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และตรีทศ สนแจ้ง
ตำรวจไทย
ตำรวจไทย หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ตำรวจแห่งชาติ (Royal Thai Police) เป็นตำรวจแห่งชาติของประเทศไทย ประกอบด้วย บรรดาเจ้าหน้าที่ของรัฐสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติซึ่งเป็นส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง มีฐานะเป็นกรม และอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เป็นผู้ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงในการดูแลคุ้มครอง ให้เกิดความสงบสุขแก่พลเมืองของประเท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และตำรวจไทย
ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข
ลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข (7 สิงหาคม 2498 -) ราชองครักษ์พิเศษ ประธานกรรมการการยางแห่งประเทศไทย สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และกรรมการบริษัท ปตท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข
ประดิษฐ์ วรรณรัตน์
รองศาสตราจารย์ ประดิษฐ์ วรรณรัตน์ (เกิด 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และประดิษฐ์ วรรณรัตน์
ประเสริฐ บุญสัมพันธ์
ประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ประธานกรรมการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำกัด (มหาชน) อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และประเสริฐ บุญสัมพันธ์
ปรีชา บัววิรัตน์เลิศ
นายปรีชา บัววิรัตน์เลิศ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น อาจารย์ประจําคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น เป็นพี่ชายของนายวารินทร์ บัววิรัตน์เลิศ หรือ โหร คม.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และปรีชา บัววิรัตน์เลิศ
ปรีชา จันทร์โอชา
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอกปรีชา จันทร์โอชา ปลัดกระทรวงกลาโหม, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, นายทหารพิเศษ ประจำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช,อดีตกรรมการบริษัท ขนส่ง จำกัด อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 กรรมการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ กรรมการคณะกรรมการที่ปรึกษาของคณะรักษาความสงบแห่งชาติด้านโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคม รองประธานคณะกรรมการศูนย์อำนวยการเตรียมความพร้อมประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กรรมการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ กรรมการคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ตุลาการศาลทหารสูงสุดและราชองครักษ์พิเศษ มีประวัติด่างพร้อยกรณีทุจริตหลายกรณี ทั้งเรื่องทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้นแต่ไม่มีที่มาแน่ชัด ลูกชายได้รับเหมางานจากกองทัพและจดทะเบียนบริษัทตั้งอยู่ในค่ายทหาร ลูกชายอีกคนได้รับราชการทหารมีเงินเดือนยศร้อยตรีเป็นกรณีพิเศษ และขาดการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และปรีชา จันทร์โอชา
ปรีดี ดาวฉาย
นาย ปรีดี ดาวฉาย เกิดวันที่ 9 กันยายน..2501 เป็นประธานกรรมการสมาคมธนาคารไทยคนปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกสิกรไทย ประธานกรรมการ บริษัท ลีสซิ่งกสิกรไทย จำกัด ประธานกรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ กสิกรไทย จำกัด (มหาชน)ประธานกรรมการ บริษัท แฟคเตอรี แอนด์ อีควิปเมนท์ กสิกรไทย จำกัดกรรมการสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และปรีดี ดาวฉาย
นริส ประทุมสุวรรณ
ลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารเรือ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ และสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และนริส ประทุมสุวรรณ
นรนิติ เศรษฐบุตร
ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และนรนิติ เศรษฐบุตร
นิพัทธ์ ทองเล็ก
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก อดีตประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตเจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม ตุลาการศาลทหารสูงสุดเป็นรองผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และนิพัทธ์ ทองเล็ก
นิสดารก์ เวชยานนท์
ตราจารย์ นิสดารก์ เวชยานนท์ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2499) เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และคณบดีคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และนิสดารก์ เวชยานนท์
นิเวศน์ นันทจิต
ตราจารย์คลินิก นายแพทย์ นิเวศน์ นันทจิต อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และประธานมูลนิธิโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (สวนดอก) และได้รับคัดเลือกเป็นนักศึกษาเก่าดีเด่นสาขาบริหารองค์กรการศึกษาจากทางมหาวิทยาลัย ร.น.นิเวศน์ นันทจิตได้มีการผลักดันให้เชียงใหม่เป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) โดยความร่วมมือกับทางไอบีเอ็มตั้งแต่ปี 2553 ในปี..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และนิเวศน์ นันทจิต
แถมสิน รัตนพันธุ์
นายแถมสิน รัตนพันธุ์ อดีตคอลัมนิสต์ผู้เขียนเรื่องราว ในวงการสังคมชั้นสูง ในหนังสือพิมพ์ และนิตยสารหลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ ผู้จัดการรายวัน โพสต์ทูเดย์ สกุลไทย เป็นต้น โดยใช้นามปากกาว่า “ลัดดา” ซึ่งเป็นชื่อภรรยาของเขาเอง.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และแถมสิน รัตนพันธุ์
โรงพยาบาลศิริราช
รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และโรงพยาบาลศิริราช
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2457 ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่ตั้งและที่ดำเนินการเรียนการสอนให้กับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์แห่งที่สองของประเทศไทย นอกจากนี้คณาจารย์สังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้ว.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ไกรสร จันทร์สุวานิชย์
ลเรือเอก ไกรสร จันทร์สุวานิชย์ (เกิด 14 กันยายน พ.ศ. 2498) ราชองค์รักษ์พิเศษ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557 อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ คนที่ 36, อดีตผู้บัญชาการศูนย์บัญชาการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย, อดีตผู้บัญชาการ โรงเรียนนายเรือ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และไกรสร จันทร์สุวานิชย์
เอก อังสนานนท์
ลตำรวจเอก เอก อังสนานนท์ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอดีตประธานคณะอนุกรรมการตรวจสอบปริมาณและคุณภาพข้าวคงเหลือของรัฐ อดีตประธานกรรมการบริหารกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเท.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และเอก อังสนานนท์
เจตน์ ศิรธรานนท์
นายแพทย์เจตน์ ศิรธรานนท์ (11 เมษายน พ.ศ. 2492-) เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต..
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และเจตน์ ศิรธรานนท์
เจน นำชัยศิริ
นาย เจน นำชัยศิริ เป็น อดีตประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และเจน นำชัยศิริ
เทพพงศ์ ทิพยจันทร์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ หรือ บิ๊กเข้ ปลัดกระทรวงกลาโหม,สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ ราชองครักษ์เวรคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ อดีตรองเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) กรรมการอิสระ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 อดีตคณะกรรมการการประปาส่วนภูมิภาคอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และเทพพงศ์ ทิพยจันทร์
เขตดุสิต
ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และเขตดุสิต
เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ (เกิด พ.ศ. 2502) เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรรมการในคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาและที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และเฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ
เฉลิมชัย สิทธิสาท
ลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท (ชื่อเล่น: เจี๊ยบ หรือ บิ๊กเจี๊ยบ, เกิด 20 ตุลาคม พ.ศ. 2500) เป็นผู้บัญชาการทหารบก คนที่ 40 เลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ตุลาการศาลทหารสูงสุด สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และผู้อำนวยการกองอำนวยการร่วมรักษาความสงบเรียบร้อย กรรมการในคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 6/2559กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการ ธนาคารทหารไทย ราชองครักษ์เวรกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์และ กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตรองเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาต.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และเฉลิมชัย สิทธิสาท
1 พฤษภาคม
วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และ1 พฤษภาคม
13 ตุลาคม
วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และ13 ตุลาคม
18 พฤษภาคม
วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และ18 พฤษภาคม
26 สิงหาคม
วันที่ 26 สิงหาคม เป็นวันที่ 238 ของปี (วันที่ 239 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 127 วันในปีนั้น.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และ26 สิงหาคม
28 สิงหาคม
วันที่ 28 สิงหาคม เป็นวันที่ 240 ของปี (วันที่ 241 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 125 วันในปีนั้น.
ดู สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และ28 สิงหาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2557