เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สปานเดาบัลเลต์และโซล (แนวดนตรี)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สปานเดาบัลเลต์และโซล (แนวดนตรี)

สปานเดาบัลเลต์ vs. โซล (แนวดนตรี)

ปานเดาบัลเลต์ (Spandau Ballet) เป็นวงดนตรีจากประเทศอังกฤษ ก่อตั้งตั้งแต่ปลายยุค 1970s ได้รับอิทธิพลจากนิวโรแมนติกแฟชั่น เพลงของพวกเขามีคุณลักษณะผสมกับดนตรีแนว ฟังก์, แจ๊ส, โซล และ ซินธ์ป็อป ประสบความสำเร็จในคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยได้ท็อปเทนซิงเกิล เมื่อแรกตั้งวง ใช้ชื่อวงว่า "The Cut" ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "The Makers" และเปลี่ยนเป็น "Spandau Ballet" หลังจากดีเจที่เป็นเพื่อนสนิทกับสมาชิกวง ชื่อโรเบิร์ต เอล์มส ไปเห็นชื่อนี้เขียนอยู่ที่ผนังห้องน้ำของไนท์คลับแห่งหนึ่งในเยอรมนีTrue: the Autobiography of Martin Kemp, p.44 ชื่อนี้มีที่มาจากชื่อเรือนจำแห่งหนึ่งในเขตสปานเดา กรุงเบอร์ลิน ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีการประหารชีวิตนักโทษชาวยิวในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสำนวนที่ผู้คุมนาซีใช้เรียกอากัปกิริยาของนักโทษ ขณะกำลังเสียชีวิตด้วยการแขวนคอ บางแหล่งก็ว่าหมายถึงอาการของนักโทษประหารในห้องรมแก๊ส ที่คล้ายกับการเต้นบัลเลต. ซล เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา" การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สปานเดาบัลเลต์และโซล (แนวดนตรี)

สปานเดาบัลเลต์และโซล (แนวดนตรี) มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บลูอายด์โซลฟังก์สหรัฐ

บลูอายด์โซล

บลูอายด์โซล (Blue-eyed soul) หรือไวต์โซล (White soul) หรือโซลของคนผิวขาว เป็นคำที่อธิบายถึงแนวเพลงอาร์แอนด์บีหรือดนตรีโซลที่ไม่ได้เล่นโดยศิลปินคนผิวดำ ที่มาของคำเกิดขึ้นช่วงกลางทศวรรษ 1960 ศิลปินผิวขาวที่ได้เล่นเพลงโซลและอาร์แอนด์บีที่มีผลงานเพลงคล้ายกับดนตรีของค่ายโมทาวน์และสแต็กซ์เรคคอร์ด มีศิลปินนักร้องบลูอายด์-โซลหลายคนมีเสียงอย่างคนดำทั้ง เสียงที่เปล่งออกจากลำคอ น้ำเสียงที่ก้องกังวาล คำ ๆ นี้ยังมีการใช้ต่อในยุค 1970 และ 1980 โดยเฉพาะศิลปินอังกฤษในรุ่นนี้ที่นำองค์ประกอบของเพลงและดนตรีในแนวค่ายเพลงสแต็กซ์และโมทาวน์มาใช้ นอกจากนี้ยังมีการนำไปใช้กับนักร้องในแนวดนตรีอื่นที่ได้รับอิทธิพลจากดนตรีโซล อย่างเช่น เดอร์ตีป็อป ดนตรีเออร์เบิร์น และฮิปฮอปโซล หมวดหมู่:แนวดนตรี.

บลูอายด์โซลและสปานเดาบัลเลต์ · บลูอายด์โซลและโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์

ฟังก์ (Funk) เป็นแนวเพลงชนิดหนึ่งเกิดขึ้นในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อนักดนตรีชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ได้รวมเพลงแนวโซล เข้ากับโซลแจ๊ส และอาร์แอนด์บี ให้มีจังหวะ สามารถเต้นรำได้ เกิดแนวเพลงชนิดใหม่ ฟังก์ได้ลดความเด่นของเมโลดี้และความกลมกลืนลง และนำจังหวะสนุกสนานเพิ่มขึ้นด้วยเบสอิเล็กทรอนิกและกลองให้ชัดขึ้น ไม่เหมือนกับเพลงอาร์แอนด์บีหรือโซล ที่มีการเปลี่ยนคอร์ดหลายครั้ง เพลงฟังก์มักจะมีคอร์ดเดียว ฟังก์ประกอบด้วยจังหวะของเครื่องดนตรีอย่าง กีตาร์ไฟฟ้า เบสไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน และกลอง เล่นในจังหวะที่เกาะเกี่ยวกัน วงฟังก์มักจะมีเครื่องเป่าอยู่ด้วย อย่าง แซกโซโฟน ทรัมเป็ต หรือในบางครั้งก็มี ทรอมโบน ผู้มีอิทธิพลต่อดนตรีฟังก์ เช่น เจมส์ บราวน์,สลาย แอนด์ เดอะ แฟมิลี สโตน, จอร์จ คลินตัน แอนด์ พาร์ไลเมน-ฟังก์คาเดลิก,เคอร์ติส เมฟิลด์, เดอะ เมเตอร์ส,เดอะ ฟังก์ บราเตอร์ส, บูทซี คอลลินส์ และ พรินซ์ วงดนตรีที่เป็นที่รู้จักในทศวรรษที่ 1970 อย่าง เอิร์ธ, วินด์แอนด์ไฟร์,ทาวเวอร์ ออฟ พาวเวอร์, คอมโมดอร์ส และคูลแอนด์เดอะแก๊ง ที่โด่งดังหลายๆ วง ก็เล่นเพลงในแนวดิสโก้และโซลด้วย ดนตรีฟังก์ได้มีการพัฒนาอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ 1970 ในช่วงที่ดนตรีดิสโก้โด่งดัง มีความนิยมในการใช้ท่อมแซมเปิ้ลของดนตรีฟังก์ในดนตรีฮิปฮอป และฟังก์ยังมีอิทธิพลต่อแนวดนตรี โก-โก ฟังก์อย่างมีอิทธิพลต่อเพลงแนวนิวเวฟและโพสต์พังก์บ้าง.

ฟังก์และสปานเดาบัลเลต์ · ฟังก์และโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

สปานเดาบัลเลต์และสหรัฐ · สหรัฐและโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สปานเดาบัลเลต์และโซล (แนวดนตรี)

สปานเดาบัลเลต์ มี 29 ความสัมพันธ์ขณะที่ โซล (แนวดนตรี) มี 17 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 6.52% = 3 / (29 + 17)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สปานเดาบัลเลต์และโซล (แนวดนตรี) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: