สนามแม่เหล็กและแมกนีทาร์
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง สนามแม่เหล็กและแมกนีทาร์
สนามแม่เหล็ก vs. แมกนีทาร์
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก (M) รอบๆ บริเวณเส้นลวด ทิศทางของสนามแม่เล็กที่เกิดขึ้นนี้เป็นไปตามกฎมือขวา กฎมือขวา Hans Christian Ørsted, ''Der Geist in der Natur'', 1854 สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแหน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์ \mathbf \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่ \mathbf. แมกนีทาร์ ในจินตนาการของจิตรกรกับเส้นสนามแม่เหล็ก แมกนีทาร์ (Magnetar; มาจากการรวมกัน 2 คำ คือ magnet และ pulsar) คือดาวนิวตรอนที่มีสนามแม่เหล็กที่กำลังแรงมาก การลดลงของกำลังการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพลังงานสูงจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งรังสีเอกซ์และรังสีแกมมาWard; Brownlee, p.286 ในทางทฤษฎีของวัตถุนี้ถูกคิดขึ้นโดย โรเบิร์ต ดันแคนและคริสโตเฟอร์ ทอมป์สันในปี 1992 แต่การบันทึกแสงวาบรังสีแกมมาครั้งแรกที่คิดว่ามาจาก แมกนีทาร์ คือวันที่ 5 มีนาคม..
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สนามแม่เหล็กและแมกนีทาร์
สนามแม่เหล็กและแมกนีทาร์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ สนามแม่เหล็กและแมกนีทาร์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง สนามแม่เหล็กและแมกนีทาร์
การเปรียบเทียบระหว่าง สนามแม่เหล็กและแมกนีทาร์
สนามแม่เหล็ก มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ แมกนีทาร์ มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (26 + 11)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สนามแม่เหล็กและแมกนีทาร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: