เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สถาปนิกและสเตท ทาวเวอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สถาปนิกและสเตท ทาวเวอร์

สถาปนิก vs. สเตท ทาวเวอร์

ร่างสถาปนิก กับงานออกแบบ สถาปนิก คือบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิก จะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถทำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับการทำงานในสาขาวิชาชีพอื่น สถาปก คำเก่าของคำว่าสถาปนิก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ก่อตั้ง ในเอกสารโบราณก่อนสมัยรัตนโกสินทร์เคยปรากฏคำ "สถาบก" หมายถึง การสร้าง หรือผู้สร้าง รางวัลที่น่ายกย่องของสถาปนิกที่รู้จักในฐานะผู้ก่อสร้างอาคารได้แก่ รางวัลพลิตซ์เกอร์ ซึ่งมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับ "รางวัลโนเบลในทางสถาปัตยกรรม". ตึกสเตท ทาวเวอร์ เป็นตึกระฟ้า สูง 247.2 เมตร (811 ฟุต) จำนวน 68 ชั้น ตั้งอยู่ในเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สถาปนิกและสเตท ทาวเวอร์

สถาปนิกและสเตท ทาวเวอร์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รังสรรค์ ต่อสุวรรณ

รังสรรค์ ต่อสุวรรณ

นามกีฬาราชมังคลากีฬาสถาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รังสรรค์ ต่อสุวรรณ (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2482) สถาปนิกชาวไทย อดีตอาจารย์และอดีตหัวหน้าภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ชาวไทย เป็นที่รู้จักในฐานะสถาปนิกผู้นำสถาปัตยกรรมกรีกและโรมัน เข้ามาใช้งานออกแบบร่วมกับอาคารสมัยใหม่ ทั้งโดม ช่องหน้าต่างโค้ง ซุ้มประตูโค้ง เป็นต้น มีผลงานที่เป็นรู้จักกันดีโดยเฉพาะอาคารสเตท ทาวเวอร์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงแรมเลอบัวมีจุดเด่นที่โดมสีทอง อาคารสาธร ยูนีค ทาวเวอร์ อาคารที่ใช้แบบคล้ายคลึงกับสเตททาวเวอร์แต่สร้างไม่สำเร็จ ปัจจุบันกลายเป็นอาคารร้างที่สูงที่สุดในไทย สนามกีฬาราชมังคลากีฬาสถาน ที่รังสรรค์เป็นผู้ออกแบบและวิจัยโดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์การค้าอัมรินทร์พลาซ่า โรงแรมแกรนด์ไฮแอท เอราวัณ เป็นต้น นอกจากนี้เขายังมีผลงานออกแบบที่อยู่อาศัย มากกว่าร้อยแห่ง และที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด คือผลงานออกแบบอาคารสาขาธนาคารกสิกรไทยมากกว่าร้อยแห่ง ที่มีจุดเด่นคือ เสาชลูด และโค้งมนตอนยอด ซึ่งกลายเป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ที่สำคัญของธนาคารในปัจจุบัน แม้ว่าผลงานที่มีชื่อเสียงของเขาส่วนใหญ่จะเป็นแนวโพสต์โมนเดิร์นแบบคลาสสิก แต่งานในช่วงแรกของเขา ก็มีความเป็นโมเดิร์นอย่างแท้จริง ทั้งการใช้คอนกรีตเปลือย เช่น โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงงานมาสด้าของบริษัทกมลสุโกศล โรงงานยาสูบ คลองเตย ศูนย์กีฬาในร่ม หัวหมาก บ้าน ดร.ยงค์ เอื้อวัฒนะสกุล เป็นต้น นอกจากนี้ก็ยังมีอาคารสูงเช่น ตึกโชคชัย ธนาคารกสิกร สำนักงานใหญ่ ที่นำกระจกสะท้อน เข้ามาใช้ในงานออกแบบครั้งแรกๆ ในประเทศไทย เป็นต้น รังสรรค์เริ่มงานออกแบบตั้งแต่เป็นนิสิตชั้นปีที่ 3 โดยเข้าฝึกงานกั.กิตติคุณ กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา (สมัยที่ยังไม่เป็นบริษัทคาซ่าในปัจจุบัน) ภายหลังสำเร็จการศึกษาจึงเข้ารับราชการสังกัดกรมโยธาธิการ ก่อนจะไปเรียนต่อที่สหรัฐอเมริกา โดยไปเรียนโรงเรียนสอนภาษาที่แอนฮาเบอร์ ก่อนจะไปฝึกงานที่ดีทรอยด์ แล้วจึงไปศึกษาต่อที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซต.

รังสรรค์ ต่อสุวรรณและสถาปนิก · รังสรรค์ ต่อสุวรรณและสเตท ทาวเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สถาปนิกและสเตท ทาวเวอร์

สถาปนิก มี 145 ความสัมพันธ์ขณะที่ สเตท ทาวเวอร์ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.64% = 1 / (145 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สถาปนิกและสเตท ทาวเวอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: